DSpace Repository

การศึกษาการใช้กลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่อลักษณะและความรุนแรงของอาการหูแว่วของผู้ป่วยจิตเภท สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา

Show simple item record

dc.contributor.advisor อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย
dc.contributor.author นิตยา เลิศศิริสวัสดิ์
dc.date.accessioned 2021-07-02T06:19:15Z
dc.date.available 2021-07-02T06:19:15Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74314
dc.description สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 en_US
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบคะแนนลักษณะและความรุนแรงของอาการ หูแว่วของผู้ป่วยจิตเภท ก่อนและหลังการได้รับการบำบัดด้วยกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมความคิดกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยในสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคจิตเภท ตาม ICD-10 มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ กลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมความคิด และแบบประเมินลักษณะและความรุนแรงของอาการหูแว่วของผู้ป่วยจิตเภท เครื่องมือได้ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 3 ท่าน และหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินลักษณะและความรุนแรงได้ค่าความเที่ยงเท่าลับ .83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติทดสอบที (paired t —test) ผลการศึกษาพบว่า คะแนนลักษณะและความรุนแรงของอาการหูแว่วของผู้ป่วยจิตเภทหลังการได้รับการ บำบัดด้วยกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternative The purpose of this independent study was to compare the characteristics and severity of auditory hallucination in schizophrenic patients before and after receiving group cognitive behavioral therapy. The purposive sample consisted of 20 schizophrenic patients in Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry. The instruments utilized in this study were group cognitive behavioral therapy and auditory hallucination questionnaires for assess the characteristics and severity of their auditory hallucination .These instruments were examined for content validity by three professional experts and tested for reliability of the questionnaires. The reliability of the questionnaires was .83. Statistical techniques used in data analysis were mean, standard deviation and paired t-test. Major results of this study was as following: The characteristics and severity of auditory hallucination in schizophrenic patients after using program group cognitive behavioral therapy was significantly lower than before the intervention at the .05 level.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2202
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ผู้ป่วยจิตเภท -- ไทย en_US
dc.subject ประสาทหลอนทางหู -- ไทย en_US
dc.subject จิตบำบัดแบบความคิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -- ไทย en_US
dc.subject Schizophrenics -- Thailand en_US
dc.subject Auditory hallucinations -- Thailand en_US
dc.subject Cognitive therapy -- Thailand en_US
dc.title การศึกษาการใช้กลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่อลักษณะและความรุนแรงของอาการหูแว่วของผู้ป่วยจิตเภท สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา en_US
dc.title.alternative A study of using group cognitive behavioral therapy on characteristics and severity of auditory hallucination in schizophrenic patients,Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Oraphun.Lu@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2007.2202


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Nurse - Independent Studies [132]
    โครงการการศึกษาอิสระ คณะพยาบาลศาสตร์

Show simple item record