DSpace Repository

การศึกษาการใช้โปรแกรมการพยาบาลแบบองค์รวมต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor รังสิมันต์ สุนทรไชยา
dc.contributor.author อัมพร ทองคำเอี่ยม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.coverage.spatial จังหวัดปราจีนบุรี
dc.date.accessioned 2021-08-06T04:55:22Z
dc.date.available 2021-08-06T04:55:22Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74787
dc.description สารนิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 en_US
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการพยาบาลแบบองค์รวม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่มีพฤติกรรมพยายามฆ่าตัวตาย ที่เข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ โปรแกรมการพยาบาลแบบองค์รวม ซึ่งผสมผสานระหว่างแนวคิดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล และการพัฒนาพฤติกรรมการดูแลตนเองให้มีชีวิตที่มีสุขภาพดีโปรแกรมการพยาบาลแบบองค์รวมรวม ประกอบด้วย 5 กิจกรรมหลัก คือ สัมพันธภาพบำบัด การพัฒนาความมีคุณค่าในตนเอง ความรู้ด้านการดำรงชีวิตในครอบครัวและในชุมชน การฝึกทักษะการผ่อนคลาย และการส่งเสริมความผาสุกทางจิตวิญญาณและผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิต มีค่าความเที่ยงของเครื่องมือ เท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและทดสอบค่าที (Dependent t-test) ผลการศึกษาที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย หลังได้โปรแกรมการพยาบาลแบบองค์รวมเพิ่มมากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการพยาบาลองค์รวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 18.65, p<.05)
dc.description.abstractalternative The study aimed to compare the self-care behaviors of suicidal attempters before and after participation in the holistic nursing program. A purposive sampling of 20 suicidal attempters was recruited and met the inclusion criteria. The study instrument was the holistic nursing program, developed by integrating the concept of the interpersonal relationship and the self care development to health living and validated by three experts. The program composed of five main activities including nurse-patient therapeutic relationships, promoting the self - esteem, knowledge about living with family and community, relaxation skill training and promoting spiritual well - being. Data were collected by using the self-care behaviors measurement with Cronbach's alpha coefficient of .82. Descriptive statistics and dependent t-test were used for data analysis. Major findings were as follows : The self-care behaviors of suicidal attempters after participating in the holistic nursing program was significantly greater than those before (t = 18.65, p <.05).
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การพยาบาลแบบพหุลักษณ์ en_US
dc.subject การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง en_US
dc.subject พฤติกรรมฆ่าตัวตาย en_US
dc.subject Holistic nursing
dc.subject Suicidal behavior
dc.subject Self-care, Health
dc.title การศึกษาการใช้โปรแกรมการพยาบาลแบบองค์รวมต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี en_US
dc.title.alternative A study of using holistic nursing program on self-care behaviors of suicidal attempters at Bansang Hospital, Prachinburi Province en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Nurse - Independent Studies [132]
    โครงการการศึกษาอิสระ คณะพยาบาลศาสตร์

Show simple item record