DSpace Repository

ความสามารถทางสังคมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษที่เรียนรวมกับเด็กปกติแบบเต็มเวลา

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศิรางค์ ทับสายทอง
dc.contributor.author ณิชาภัทร ศรีนฤวรรณ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2008-07-11T08:20:33Z
dc.date.available 2008-07-11T08:20:33Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741422032
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7524
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en
dc.description.abstract ศึกษาความสามารถทางสังคมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษที่เรียนรวมกับเด็กปกติแบบเต็มเวลา กลุ่มตัวอย่างคือ เด็ก Autistic จำนวน 15 คน และเด็กที่มีความบกพร่องด้านสติปัญญา (MR) จำนวน 13 คน ที่เรียนรวมแบบเต็มเวลาในโรงเรียนอนุบาล ความสามารถทางสังคมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษได้มาจากการทำสังคมมิติ การประเมินความสามารถทางสังคม และการสัมภาษณ์เด็กเป็นรายบุคคล แล้ววิเคราะห์เปรียบเทียบความสามารถทางสังคมระหว่างกลุ่ม โดยใช้สถิติ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กปกติส่วนใหญ่มีแนวโน้มเลือกที่จะไม่เล่นกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษทั้งสองกลุ่ม มากกว่าเลือกที่จะเล่น 2. เด็กปกติส่วนใหญ่มีแนวโน้มเลือกที่จะเล่นกับเด็ก Autistic ด้วยเหตุผลด้านกายภาพ และเลือกที่จะเล่นกับเด็กที่มีความบกพร่องด้านสติปัญญา (MR) ด้วยเหตุด้านพฤติกรรมในทางกลับกัน เด็กปกติส่วนใหญ่มีแนวโน้มเลือกที่จะไม่เล่นกับเด็ก Autistic ด้วยเหตุผลด้านพฤติกรรม ในขณะที่ด้านกายภาพเป็นเหตุผลที่เด็กปกติไม่เลือกที่จะเล่นกับ เด็กที่มีความบกพร่องด้านสติปัญญา (MR) 3. ผลการเปรียบเทียบความสามารถทางสังคมระหว่างกลุ่ม 3.1 ความสามารถทางสังคมของเด็กปกติแตกต่างจากของเด็ก Autistic และเด็กที่มีความบกพร่องด้านสติปัญญา (MR) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.2 ไม่มีความแตกต่างระหว่างความสามารถทางสังคมของเด็ก Autistic และเด็กที่มีความบกพร่องด้านสติปัญญา (MR) en
dc.description.abstractalternative To study social competence of children with special needs in full inclusion. Participants were 15 autistic children and 13 mentally retarded children in full inclusion in kindergarten. Social competence of children with special needs was derived from sociometry, social competence assessment and an individual interview. Finally, the social competence comparison between normal children and children with special needs were analysed by t-test Results of the study are as follows 1. Most normal children are likely to choose not to play with both groups of children with special needs more than to play. 2. Most normal children are likely to choose to play with autistic children with the reason of general appearance aspect and choosing to play with mentarlly retarded children with the reason of behavior aspect. Conversely, most normal children has a tendency of choosing not to play with autistic children with the reason of behavior aspect while general appearance is the reason for choosing not to play with mentally retarded children. 3. The result of social competence comparison between groups are: 3.1 The social competence of normal children is significantly different from the autistics{7f2019} and the mentally retarded children's (p<.05). 3.2 There is no difference between the social competence of the autistics and of the mentally retarded children. en
dc.format.extent 1140105 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ทักษะทางสังคมในเด็ก en
dc.subject เด็กออทิสติก en
dc.subject เด็กปัญญาอ่อน en
dc.subject การเรียนร่วมของเด็กพิเศษ en
dc.title ความสามารถทางสังคมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษที่เรียนรวมกับเด็กปกติแบบเต็มเวลา en
dc.title.alternative Social competence of children with special needs in full inclusion en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาพัฒนาการ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Psy@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record