DSpace Repository

การศึกษาความเป็นไปได้ของแพลตฟอร์มการให้บริการการขึ้นรูปต้นแบบแม่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องประดับ

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุกรี สินธุภิญโญ
dc.contributor.author ดนูพัฒน์ รัตนบันรินทร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2021-09-21T06:48:32Z
dc.date.available 2021-09-21T06:48:32Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76607
dc.description สารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563
dc.description.abstract งานวิจัยฉบับนี้ได้ศึกษาความเป็นไปได้ของแพลตฟอร์มการให้บริการการขึ้นรูปต้นแบบแม่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องประดับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดการยอมรับนวัตกรรมสำหรับแพลตฟอร์มการให้บริการเครื่องพิมพ์สามมิติและแพลตฟอร์มร้านค้าออนไลน์สำหรับสินค้าเครื่องประดับ และขอบเขตการศึกษาสำหรับกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 4 กลุ่มคือ นักออกแบบเครื่องประดับ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมเครื่องประดับ ผู้ให้บริการเครื่องพิมพ์สามมิติ และบุคคลทั่วไป โดยมีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการเครื่องพิมพ์สามมิติ และมีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้ให้บริการเครื่องพิมพ์สามมิติจำนวน 3 ราย และผู้ใช้บริการเครื่องพิมพ์สามมิติจำนวน 3 รายในกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องประดับ หลังจากนั้นมีสร้างแบบจำลองแพลตฟอร์มเพื่อนำมาศึกษาปัจจัยในการยอมรับนวัตกรรมและออกแบบวิธีการเก็บข้อมูลสำหรับกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการเก็บข้อมูลแบบ (Quantitative Research) จากการใช้แบบสอบถามจำนวน 227 ราย โดยผลการศึกษาและการเก็บข้อมูลพบว่ามีผู้ยอมรับนวัตกรรมจำนวน 62% จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด และจำนวนผู้ยอมรับนวัตกรรมจำนวน 75% จากตัวอย่าง 20 รายที่เคยใช้บริการเครื่องพิมพ์สามมิติ
dc.description.abstractalternative This research is a feasibility study of using a 3D printer service platform to create wax models in the jewelry business. Our goal is to investigate elements that influence innovation adoption of a 3D printer service online platform and online jewelry marketplace. Designers, Jewelry Traders, 3D Printer Service Providers, and Internet Users are four sample groups in this study. The research methodologies are qualitative research to investigate the elements that affect users and 3D Printer service providers, with a sample group of three 3D Printer service providers and three jewelry industry users. We create a user interface design of the 3D Printer service platform and jewelry marketplace platform in order to examine the elements that influence innovation adoption and build a methodology for quantitative research with 227 internet users. According to the findings of this survey, 62 percent of users from the overall sample group are interested in online jewelry marketplace prototype platform and 75 percent of 20 people who have experienced in 3D Printer services are interested in 3D Printer platform.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.296
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject การสร้างต้นแบบซอฟต์แวร์
dc.subject เครื่องเพชรพลอย
dc.subject การพิมพ์สามมิติ
dc.subject Software prototyping
dc.subject Jewelry
dc.subject Three-dimensional printing
dc.subject.classification Business
dc.title การศึกษาความเป็นไปได้ของแพลตฟอร์มการให้บริการการขึ้นรูปต้นแบบแม่พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องประดับ
dc.title.alternative Feasibility study of 3D printer service platform for making a wax model in jewelry industry
dc.type Independent Study
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline ธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.IS.2020.296


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Grad - Independent Studies [269]
    สารนิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป

Show simple item record