DSpace Repository

Development of porous supporting fabric-embedded bacterial cellulose composites for wound dressing applications

Show simple item record

dc.contributor.advisor Ratana Rujiravanit
dc.contributor.author Nichapat Boonyeun
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-09-30T00:03:07Z
dc.date.available 2021-09-30T00:03:07Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77372
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014 en_US
dc.description.abstract A bacterial cellulose (BC) pellicle is a polysaccharide produced by Acetobacter xylinum. BC pellicles have many advantages such as hydrophilicity, ultrafine 3D network structure, high purity, high water absorption capacity, in addition to the never dried state of a hydrogel. Accordingly, BC pellicles are a good candidate for being used as a wound dressing material because it can provide a moist wound environment, promote the wound healing process, and has excellent molding to all facial body contours. However, in a large scale production of BC pellicles, damage from tearing of BC pellicle may occur during cultivation, sterilization, and packing into packaging. In order to reinforce BC pellicles, BC composites consisting of fabric embedded in the BC pellicles were fabricated. Cotton Lenin, filter cloth, muslin, shefong (polyester) and nylon mesh were used to investigate the effect of the types of fabrics on mechanical properties, morphology, water absorption capacity, and water vapor transmission rate of the composites. In addition, the surface of the fabrics was modified by dielectric barrier discharge (DBD) plasma treatment before cultivation in culture medium containing Acetobacter xylinum. By applying DBD plasma treatment, hydrophilicity. and surface roughness of the fabrics could be enhanced. The effect of DBD plasma treatment on production yield, change in chemical structure of the plasma-treated fabrics, morphology, mechanical properties, water absorption, and water vapor transmission rate of the BC composites was examined.
dc.description.abstractalternative แบคทีเรียเซลลูโลสคือเส้นใยเซลลูโลสบริสุทธิ์ที่สังเคราะห์ขึ้นโดยกระบวนการเมตาบอลิซึมของแบคทีเรีย Acetobacter xylinum ซึ่งเป็นกระบวนการสังเคราะห์ทางชีวภาพแบคทีเรียเซลลูโลสมีข้อดีหลายประการคือ มีความมีขั้วสูง ความแข็งแรง โครงสร้างเส้นใยแบบสามมิติ ไม่เป็นพิษสามารถเข้ากับเซลล์ได้ดี สามารถดูดซับน้ำได้มาก และมีความบริสุทธิ์สูง นอกจากนี้เส้นใยแบคทีเรียเซลลูโลสถูกผลิตออกมาในรูปของวัสดุไฮโดรเจล ซึ่งเหมาะสมในการ ประยุกต์ใช้เป็นวัสดุปิดแผลเนื่องจากสมบัติไฮโดรเจล ของแบคทีเรียเซลลูโลสจะสามารถรักษา สภาวะความชุ่มชื้นของบาดแผลได้ ซึ่งจะช่วยให้กระบวนการสมานแผลเป็นไปได้เร็วขึ้น ทั้งยัง สามารถดูดซับของเหลวจากแผลได้มาก ตลอดจนการถ่ายเทอากาศบริเวณบาดแผลได้ดี และลอก ออกจากบาดแผลได้ง่ายโดยที่ไม่เกิดความเจ็บปวดและไม่ทำลายเนื้อเยื่อที่สร้างขึ้นใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลดโอกาสในการเกิดแผลเป็น ในงานวิจัยนี้มีเป้าหมายที่จะพัฒนาวัสดุปิดแผลจากแบคทีเรียเซลลูโลสคอมโพสิต ซึ่งเป็นวัสดุคอมโพสิตที่เตรียมจากแบคทีเรียเซลลูโลสและวัสดุสิ่งทอที่มีรูพรุน (Porous supporting fabric) ได้แก่ ผ้าคอดตอน ผ้ามัสลิน ผ้าลินิน ตาข่ายไนลอน ผ้าพอลิเอสเทอร์ (ชีฟอง) และผ้าขาวบาง ที่ถูกปรับสภาพพื้นผิวของเส้นใยด้วยเทคนิค Dielectric barrier discharge plasma (DBD plasma)ซึ่งเทคนิค DBD plasma จะช่วยเพิ่มความขรุขระพื้นที่ผิว และความมีขั้วให้กับพื้นผิวเส้นใยของวัสดุสิ่งทอที่มีรูพรุน เพื่อเพิ่มคุณสมบัติในการเกาะติดของเซลล์แบคทีเรีย (Cell attachment) ซึ่งเป็นผลดีในการสังเคราะห์แบคทีเรียเซลลูโลส เคลือบบนวัสดุสิ่งทอที่มีรูพรุนเพื่อผลิตเป็นแผ่นแบคทีเรียเซลลูโลสคอมโพสิตที่มีความแข็งแรง ทนต่อการฉีกขาดได้ดีกว่าแผ่นแบคทีเรียเซลลูโลสบริสุทธิ์ วัสดุคอมโพสิตที่ได้จะถูกนำไปพิสูจน์เอกลักษณ์ ได้แก่ โครงสร้างทางเคมี ลักษณะสัณฐานวิทยา ความสามารถในการดูดซับน้ำ ความสามารถในการซึมผ่านของไอน้ำ คุณสมบัติเชิงกล และการรักษาบาดแผลในสัตว์ทดลอง
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1604
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Plaster (Pharmacy)
dc.subject Cellulose
dc.subject Composite materials
dc.subject แผ่นปิดแผล
dc.subject เซลลูโลส
dc.subject วัสดุเชิงประกอบ
dc.title Development of porous supporting fabric-embedded bacterial cellulose composites for wound dressing applications en_US
dc.title.alternative การพัฒนาวัสดุคอมโพสิตที่เตรียมจากแบคทีเรียเซลลูโลสและวัสดุสิ่งทอที่มีรูพรุนเพื่อใช้เป็นวัสดุปิดแผล en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Polymer Science en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Ratana.R@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.1604


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record