dc.contributor.advisor |
พัชณิตา ธรรมยงค์กิจ |
|
dc.contributor.author |
อภินัทธ์ จงพาณิชกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-03T08:55:16Z |
|
dc.date.available |
2022-03-03T08:55:16Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78165 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี.. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 |
en_US |
dc.description.abstract |
อนุพันธ์ของชิฟฟ์เบสเป็นอนุพันธ์ชนิดหนึ่งที่ได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวางในฐานะตัวเร่งปฏิริยาที่มี ประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้มุ่งสังเคราะห์อนุพันธ์ของสารเชิงซ้อนของคอปเปอร์(II) กับชิฟฟ์เบสที่มีหมู่แทนที่เป็นไทโอฟีน และไบไทโอฟีน และการเกิดปฏิกิริยาอิเล็กทรอพอลิเมอไรเซชันไปเป็นฟิล์มพอลิเมอร์บนแผ่นแก้วที่เคลือบด้วย indium tin oxide เพื่อการเร่งปฏิกิริยารีดักชันทางเคมีไฟฟ้าของคาร์บอนไดออกไซด์ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า สามารถสังเคราะห์สารประกอบเป้าหมายออกมาได้โดยมีร้อยละผลได้ในแต่ละขั้นตอนอยู่ในช่วง 59 -89 อีกทั้ง สารประกอบเป้าหมายทั้งสองสามารถเกิดเป็นฟิล์มพอลิเมอร์ที่มีลักษณะเรียบและเสถียรได้จากระบบที่มีแผ่นแก้ว เคลือบ indium tin oxide แผ่นแพลทินัม เส้นลวดซิลเวอร์/ซิลเวอร์คลอไรด์ เป็นขั้วไฟฟ้าทางาน ขั้วไฟฟ้าช่วย และ ขั้วไฟฟ้าอ้างอิงแบบควอไซ ตามลำดับ ศักย์ไฟฟ้าที่เลือกใช้อยู่ในช่วง -200 ถึง 1300 มิลลิโวลต์ และ 0 ถึง 1500 มิลลิ โวลต์ สำหรับอนุพันธ์ที่มีไทโอฟีน และไบไทโอฟีนเป็นหมู่แทนที่ ตามลำดับ จึงถือว่าสารประกอบเป้าหมายทั้งสองนั้น เป็นสารที่มีความเป็นไปได้สำหรับการนำไปขึ้นรูปเป็นฟิล์มทางเคมีไฟฟ้า และสามารถนำไปใช้ในการศึกษาการทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยารีดักชันทางเคมีไฟฟ้าของคาร์บอนไดออกไซด์ต่อไปได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Schiff base derivatives have been widely researched as efficient catalysts. This study focuses on synthesis of copper(II) complexes with Schiff base bearing thienyl and bithiophenyl substituents, along with electropolymerization reaction to give polymer films on indium tin oxide coated glass substrates for catalytic electrochemical reduction of carbon dioxide. Results showed that the yield of each synthesis step was in a range of 59-89 percent. Moreover, the target compounds could be polymerized into smooth and stable films from a system consisting of the indium tin oxide coated glass substrate, a platinum plate and a Ag/AgCl wire as a working electrode, a counter electrode and a quasi-reference electrode, respectively. Applied potentials were in range of -200 to 1300 mV and 0 to 1500 mV for thienyl- and bithiophenyl-substituted derivatives, respectively. Therefore, it can be concluded that both target compounds are potential materials for electrochemical film formation and can be studied further as the catalysts for electrochemical reduction of carbon dioxide. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ชิฟเบส |
en_US |
dc.subject |
ไทโอฟีน |
en_US |
dc.subject |
Schiff bases |
en_US |
dc.subject |
Thiophenes |
en_US |
dc.title |
การสังเคราะห์และอิเล็กทรอพอลิเมอไรเซชันของคอปเปอร์(II)-ซาเลน-ไทโอฟีนคอนจูเกต |
en_US |
dc.title.alternative |
Synthesis and Electropolymerization of Copper(II)-salen-thiophene Conjugate |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |