dc.contributor.advisor |
พุทธรักษา วรานุศุภากุล |
|
dc.contributor.author |
กรรณิการ์ ธรรมาภิมุข |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-08T02:45:55Z |
|
dc.date.available |
2022-03-08T02:45:55Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78189 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 |
en_US |
dc.description.abstract |
กรดซอร์บิกและกรดเบนโซอิกนิยมใช้เป็นสารกันบูดในอาหาร เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ที่เป็นสาเหตุ ทำให้อาหารเน่าเสีย โดยหากมีสารกันบูดอยู่ในอาหารมากเกินไป อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ ดังนั้นในงานวิจัยนี้ได้ พัฒนาวิธีการวิเคราะห์ปริมาณกรดซอร์บิกและกรดเบนโซอิก โดยทำการสกัดด้วยเทคนิคการสกัดระดับจุลภาคด้วยวัฏภาค ของแข็ง (SPME) และนำไปวิเคราะห์ด้วยเทคนิคไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโทกราฟี (HPLC) โดยทำการเปรียบเทียบ ระหว่างการสกัดระดับจุลภาคด้วยวัฏภาคของแข็งแบบโดยตรง (DI-SPME) และการสกัดระดับจุลภาคด้วยวัฏภาคของแข็งแบบ เฮดสเปซ (HS-SPME) โดยใช้เส้นใยชนิดพอลิอะคริเลต (df=85 ไมโครเมตร) ทำการสกัด 40 นาที และทำการชะด้วย สารละลายผสมของเมทานอล-น้ำ (อัตราส่วน 40:60) ปริมาตร 1 มิลลิลิตร เป็นเวลา 5 นาที พบว่าการสกัดแบบ DI-SPME ที่ อุณหภูมิห้อง ให้ประสิทธิภาพสูงกว่าการสกัดแบบ HS-SPME ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส แต่การสกัดแบบ DI-SPME อาจ เกิดการรบกวนจากเมทริกซ์ในตัวอย่างมากกว่า จากนั้นทำการศึกษาปัจจัยต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสกัดด้วย HS-SPME ได้แก่ ความเป็นกรด-เบสของสารละลายและการเติมเกลือ พบว่า การสกัดแบบ HS-SPME มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เมื่อให้สาร ตัวอย่างอยู่ในกรดซัลฟิวริกเข้มข้น 0.05 โมลาร์ และเติมเกลือโซเดียมซัลเฟต 0.4 กรัมต่อมิลลิลิตร |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Sorbic and benzoic acids commonly use as a preservative in food in order to inhibit the growth of microorganisms which is the cause of food spoilage. However, exceeding use of preservatives will be harmful to the consumer. Therefore, a method for determination of sorbic and benzoic acids was developed in this research project. The extraction by solid phase microextraction (SPME) prior to the analysis by high performance liquid chromatography (HPLC) was studied. Direct immersion solid phase microextraction (DI-SPME) and headspace solid phase microextraction (HS-SPME) with polyacrylate fiber (df=85 μm) were compared. Extraction time of 40 min, 1 mL of methanol-water (40:60) as elution solvent and elution time of 5 min were applied. As a result, DI-SPME at room temperature gave a better efficiency than HS-SPME at 50 °C. Nevertheless, the sample matrix may interfere the analysis in DI-SPME. Therefore, the condition in HS-SPME was studied to improve the extraction efficiency which are solution pH and addition of salt. As a result, sample solution in 0.05 M of sulfuric acid and additional of 0.4 g/mL of sodium sulfate can enhance the extraction efficiency of HS-SPME. Keywords: |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
Sorbic acid |
en_US |
dc.subject |
Benzoates |
en_US |
dc.subject |
High performance liquid chromatography |
en_US |
dc.subject |
กรดซอร์บิก |
en_US |
dc.subject |
เบนโซเอต |
en_US |
dc.subject |
วัตถุกันเสีย |
en_US |
dc.subject |
ไฮเปอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโตกราฟี |
en_US |
dc.title |
การวิเคราะห์ปริมาณกรดซอร์บิกและกรดเบนโซอิกโดยการสกัดระดับจุลภาคด้วยวัฏภาคของแข็งแบบ เฮดสเปซและเทคนิคไฮเพอร์ฟอร์แมนซ์ลิควิดโครมาโทกราฟี |
en_US |
dc.title.alternative |
Determination of Sorbic and Benzoic Acids by Headspace Solid Phase Microextraction and High Performance Liquid Chromatography |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |