DSpace Repository

การประมวลผลภาพดิจิทัลหลายมิติด้วยเทคนิคเคโมเมตริก

Show simple item record

dc.contributor.advisor คเณศ วงษ์ระวี
dc.contributor.author นลธวัช ศรีเจริญ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-03-10T08:42:05Z
dc.date.available 2022-03-10T08:42:05Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78204
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 en_US
dc.description.abstract ปัจจุบันอุปกรณ์ถ่ายภาพได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความละเอียดและความคมชัดใน ระดับสูงและถ่ายโอนข้อมูลได้ง่าย จึงถูกนำไปประยุกต์ใช้ในงานการวิเคราะห์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทางด้าน อาหาร ในงานวิจัยนี้ได้พัฒนาอุปกรณ์สำหรับการถ่ายภาพโดยติดตั้งหลอด LED สีต่าง ๆ ได้แก่ สีขาว น้ำเงิน เขียว ส้มและแดง เพื่อเป็นแหล่งกำเนิดแสงให้กับวัตถุสำหรับการถ่ายภาพ และพัฒนาโปรแกรม ทางเคโมเมตริกสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลจากภาพถ่ายที่ได้จากการใช้แหล่งกำเนิดแสง LED ที่ต่างกัน ความแม่นยำและความแปรปรวนของภาพถ่ายที่ได้ถูกวิเคราะห์โดยการแปลงภาพถ่ายให้อยู่ในรูปของค่าสี RGB พบว่ารูปถ่ายที่ได้มีความแปรปรวนน้อย (<5 %) จากนั้นทำการทดสอบโปรแกรมทางเคโมเมตริก โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบของกระดาษที่ประกอบด้วยสีต่าง ๆ (9 สี) พบว่าจากเทคนิคแยก องค์ประกอบหลัก (Principal Component Analysis) สามารถจำแนกสีบนกระดาษได้อย่างชัดเจน มากกว่าการวิเคราะห์จากค่าสี RGB โดยตรง จากนั้นได้ทำการวิเคราะห์กับตัวอย่างใบไม้ พบว่าสามารถ ระบุบริเวณที่มีคลอโรฟิลบนใบไม้ได้อย่างแม่นยำ และวิเคราะห์ปลาแซลมอนดิบพบว่าสามารถระบุบริเวณ ที่เป็นชั้นไขมันและเนื้อปลาได้อย่างชัดเจน และยังสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีการให้ความ ร้อนโดยไมโครเวฟ นอกจากนั้นการวิเคราะห์ภาพถ่ายจากการใช้ LED สีน้ำเงิน เขียว ส้ม และแดงร่วมกัน จะให้ผลที่ถูกต้องมากกว่าภาพถ่ายที่ได้จากหลอด LED สีขาวเพียงสีเดียว en_US
dc.description.abstractalternative Nowaday, photographic equipment was continuously developed to reach the high standard, good resolution and possibly access to internet for uploading captured pictures. These developed camera was applied for many application especially food analysis. In this work a photographic equipment was developed by using several LED (white, blue, green, orange and red) as the light source to generate the different light to the captured objects. A chemometrice program was also developed to analyte the images. The precision and variation of image that was monitored by transform the image to RGB values. It was found that the variation of the image is acceptable (<5 %) for further uses. To validate the chemometric program, an image captured from an object containing 9 different colors was used. It was found that 9 colors can be differentiated by using the principal component analysis, while these colors cannot be completely differentiated by using RGB values. These procedure was further applied to leaf and salmon. It was found that chrolophyll in the leaf can easily be determined. In case of salmon, it was found that the lipid layer can be determined and monitored when salmon was heated by microwave. From several tests, it can be concluded that the image captured using light source from LED (blue green orange and red) contains more information comparing with the image captured by using only LED white light. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การประมวลผลภาพ -- เทคนิคดิจิทัล en_US
dc.subject ภาพดิจิทัล -- การประมวลผลข้อมูล en_US
dc.subject Image processing -- Digital techniques en_US
dc.subject Digital images -- Data processing en_US
dc.title การประมวลผลภาพดิจิทัลหลายมิติด้วยเทคนิคเคโมเมตริก en_US
dc.title.alternative Analysis of Multi-dimensional digital images using chemometric approaches en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record