dc.contributor.advisor |
สนอง เอกสิทธิ์ |
|
dc.contributor.author |
รัตนชาติ พันธ์พงษ์วงศ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-14T04:06:05Z |
|
dc.date.available |
2022-03-14T04:06:05Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78220 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษาวัสดุจำพวกผลึกในระดับไมโครเมตร 1 – 500 ไมโครเมตร จะใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง โพลาไรซ์ที่มีกำลังขยาย 10 – 1000 เท่าเป็นเครื่องมือ โดยในงานวิจัยนี้ได้ทำการพัฒนากล้องจุลทรรศน์แบบ โพลาไรซ์เพื่อใช้งานร่วมกับสมาร์ตโฟน ใช้หลอดไฟแอลอีดีเป็นแหล่งกำเนิดแสง เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นสามารถ ถ่ายภาพในแบบแสงผ่านปกติ แสงโพลาไรซ์ สามารถวาง และหมุนผลึกตัวอย่างได้ทุกขนาด (เกลือแกงขนาดเล็ก จนถึงเพชรพลอยขนาดใหญ่) ผลึกชนิดต่าง ๆ เช่น โซเดียมคลอไรด์ แมกนีเซียมซัลเฟต ซิลเวอร์อะซิเตต เป็นต้น ซึ่ง ข้อมูลรูปภาพที่ถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์โพลาไรซ์ที่พัฒนาขึ้น มีคุณภาพใกล้เคียงกับข้อมูลภาพถ่ายจากกล้อง จุลทรรศน์โพลาไรซ์ระดับห้องปฏิบัติการ สามารถวิเคราะห์ลักษณะของผลึกชนิดต่าง ๆ รวมถึงศึกษาการบิดระนาบ แสง คุณสมบัติแอนไอโซโทรปิก และไบรีฟริงเจนของผลึกได้เหมือนกับเครื่องมือที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทุกประการ ทำให้อุปกรณ์ตัวนี้มีศักยภาพในการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงเครื่องมือวิทยาศาสตร์ ลดต้นทุนทางการศึกษา และสร้างเทคโนโลยีที่เป็นพื้นฐานการต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าของประเทศในอนาคต |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The study of crystal materials in microscopic scale, 1 – 500 micrometer, is conducted by using polarized microscope with magnification of 10 – 400x which is developed to be utilized with Smartphone by using LED as a light source. This device can capture images in both normal light and polarized light. It is applicable for every size of crystal examples (small size of salt to large gemstone) and also various crystals such as sodium chloride, magnesium sulfate, silver acetate. The quality of the image taken by this device is almost equivalent to those captured by highgrade polarized microscope. These images can be used in analyzing the properties of various kind of crystals including anisotropic property and birefringence. Those benefits provide this device a potential to increase opportunity to access the equipment, decrease cost for education and also create technology which will be the beginning to further the value of the products in our country in the near future. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
กล้องจุลทรรศน์ |
en_US |
dc.subject |
Microscopes |
en_US |
dc.title |
การพัฒนาอุปกรณ์กล้องจุลทรรศน์แบบโพลาไรซ์เพื่อใช้ร่วมกับสมาร์ตโฟน |
en_US |
dc.title.alternative |
Development of cross-polarized microscope accessory for smartphone |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Sanong.E@Chula.ac.th |
|