dc.contributor.advisor |
ลักษณา ดูบาส |
|
dc.contributor.author |
เฉลิมวงศ์ บุญเสถียร |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-15T02:32:55Z |
|
dc.date.available |
2022-03-15T02:32:55Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78245 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 |
en_US |
dc.description.abstract |
ไกลโฟเสตเป็นสารกำจัดวัชพืชที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีความเป็นพิษ อีกทั้งมีความเสถียรต่อความร้อน จึงตกค้างในสิ่งแวดล้อม ทั้งในดิน และในน้ำ โดยเฉพาะในพื้นที่การเกษตรได้ง่าย การพัฒนาชุดตรวจวัดไกลโฟเสตเพื่อนำไปใช้งานในพื้นที่การเกษตรจึงมีความสำคัญ เพื่อใช้ตรวจวัดปริมาณของไกลโฟเสตที่ตกค้างในน้ำ โดยใช้ปฏิกิริยาการเกิดสารเชิงซ้อนระหว่างไอออนเหล็ก (III) กับไกลโฟเสต และตรวจวัดปริมาณไอออนเหล็ก (III) ที่เหลือด้วยไอออนไธโอไซยาเนต โดยทำการศึกษาหาภาวะ pH ที่เหมาะสมสำหรับการเกิดสารเชิงซ้อนของไอออนเหล็ก (III) กับไกลโฟเสต ซึ่งได้ pH ที่เหมาะสมที่ 2.9 และ 3.8 และควบคุม pH ด้วยบัฟเฟอร์ แอซิติก/แอซิเตต จากนั้นศึกษาอัตราส่วนความเข้มข้นที่เหมาะสมของไอออนเหล็ก (III) กับไกลโฟเสต ดังที่กล่าวมาข้างต้นปริมาณของไอออนเหล็ก (III) ที่เหลือจะถูกตรวจวัดด้วยสารละลายโพแทสเซียมไธโอไซยาเนต ให้เกิดสารเชิงซ้อนละลายน้ำที่มีสีแดง อย่างไรก็ตามสารเชิงซ้อนละลายน้ำที่มีสีแดงนั้นไม่สามารถสังเกตได้ในระบบบัฟเฟอร์แอซิติก/แอซิเตต และอัตราส่วนความเข้มข้นของไอออน Fe(III) กับไกลโฟเสตที่ใช้ได้เป็น 2:1 และทำการพิสูจน์เอกลักษณ์ของตะกอนของสารเชิงซ้อนไอออนเหล็ก (III) กับไกลโฟเสต ด้วยเทคนิค ATR-FTIR ผลการทดลองแสดงว่าตะกอนที่สังเกตได้เป็นตะกอนของสารเชิงซ้อนระหว่างไอออนเหล็ก (III) กับไกลโฟเสต |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Glyphosate, a toxic and thermally stable substance, is a herbicide widely used. Therefore, it can easily contaminate in the environment, especially in agricultural areas. The development of naked-eye testing kit for glyphosate for in-field use should be important. Our developed kit was based on the complexation of excess amount of Fe(III) ion and glyphosate and measure the amount of Fe(III) ion left with thiocyanate ion. The optimum pH for Fe(III) ion and glyphosate reaction was 2.9 and 3.8 controlling with acetic/acetate buffer. Then, the mole ratio of Fe(III) ion to glyphosate was studied. As stated earlier, the left over amount of Fe(III) ions after reacting with glyphosate was determined with KSCN solution resulting in the reddish solution. However, the reddish soluble complex could not be observed in the acetic/acetate buffer system. The ratio of Fe(III) ion and glyphosate was 2:1 were the best condition. The observable precipitate of Fe(III)-glyphosate complex then characterized with ATR-FTIR spectrometer. The results showed that it was precipitate of Fe(III) and glyphosate complex. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ไกลโฟเสท |
en_US |
dc.subject |
สารพิษตกค้างทางเกษตรกรรม |
en_US |
dc.subject |
Glyphosate |
en_US |
dc.subject |
Spraying and dusting residues in agriculture |
en_US |
dc.title |
ชุดตรวจวัดไกลโฟเสตด้วยตาเปล่าสำหรับใช้งานในพื้นที่ |
en_US |
dc.title.alternative |
Naked-eye testing kit for glyphosate for in-field detection |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
ไม่มีข้อมูล |
|