dc.contributor.advisor |
สนอง เอกสิทธิ์ |
|
dc.contributor.advisor |
คเณศ วงษ์ระวี |
|
dc.contributor.author |
ศุกลพัชร ยิ่งโสภณพิทักษ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-17T03:01:40Z |
|
dc.date.available |
2022-03-17T03:01:40Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78310 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
เนื่องด้วยบริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ทำการผลิตและจำหน่ายไข่ไก่และไข่ไก่แปรรูปที่มีคุณภาพ ดังนั้นการควบคุมคุณภาพของไข่ไก่เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในอุตสาหกรรมการแปรรูปไข่ไก่ สำหรับการแปรรูปไข่ไก่นั้นการตรวจสอบคุณภาพของเปลือกไข่ไก่จากความหนาและความแข็งแรงของเปลือกไข่ไก่นับมีความสำคัญมาก วิธีการวิเคราะห์คุณภาพของเปลือกไข่นั้นยังเป็นวิธีการที่ทำลายตัวอย่างจึงทำการตรวจสอบโดยการสุ่มตัวอย่างเท่านั้น ซึ่งมีโอกาสสูงที่ไข่ไก่ที่ไม่ผ่านมาตรฐานบางส่วนอาจหลุดเข้าไปในสายการผลิตและก่อเกิดมูลค่าความเสียหายในระหว่างการแปรรูปได้ งานวิจัยนี้สนใจในการประยุกต์เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีและการคำนวณทางเคโมเมทริกซ์ในการทำนายค่าความหนาและค่าความแข็งแรงของเปลือกไข่ โดยจะศึกษาความสัมพันธ์ของสัญญาณเนียร์อินฟราเรดสเปกตรัมที่ได้จากไข่ไก่ทั้ง 4 ตำแหน่ง (ตำแหน่งด้านป้าน, ด้านแหลมและด้านข้างทั้งสองด้าน) กับค่าความหนาและค่าความแข็งแรงของเปลือกไข่ไก่ที่ได้จากการวัด จากการสร้างแบบจำลองและสมการสอบเทียบโดยใช้วิธีการถดถอยกำลังสองน้อยสุด พบว่าการทำนายค่าความหนาของเปลือกไข่ไก่โดยพิจารณาจากเนียร์อินฟราเรดสเปกตรัมของการวัดทุกตำแหน่งและตำแหน่งด้านแหลม จะมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.9071 และ 0.8857 ตามลำดับ และมีค่าเฉลี่ยของความคาดเคลื่อนเท่ากับ 0.0230 และ 0.0259 ตามลำดับ ในส่วนของการทำนายค่าความแข็งแรงของเปลือกไข่ไก่โดยพิจารณาจากสัญญาณเนียร์อินฟราเรดสเปกตรัมจากทุกตำแหน่งและตำแหน่งด้านป้าน จะมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.7644 และ 0.8440 ตามลำดับ และมีค่าเฉลี่ยของความคาดเคลื่อนเท่ากับ 6.1266 และ 6.7869 ตามลำดับ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Charoen Pokphand Food (Thailand) public Co. ltd (CPF) manufactures well quality fresh eggs and products of eggs, hence the quality control of eggs is an imperative procedure in cooked egg manufacturing. Eggshell thickness and eggshell strength are the important indicators to determine the quality of egg prior to transfer them in the process. However, conventional methods to define these indicators are invasive which could not be performed for all samples. Therefore, some below standard eggs might liberate into the production line causing profit loss. In this study, near-infrared spectroscopy technique combined with chemometrics was used to predict eggshell thickness and eggshell strength. The signal correlation of near-infrared spectrums from four positions of egg; including bottom, top and two sides of eggs with eggshell thickness and eggshell strength was calculated. By creating PLS regression model, the root mean square of error (RMSE) are 0.0230 – 0.0259 with correlation coefficient of R = 0.8857 – 0.9071 were obtained for eggshell thickness prediction. In predicting eggshell strength, the root mean square of error (RMSE) are 6.1266 – 6.7869 with correlation coefficient of R = 0.7644 – 0.8440 were obtained. From the prediction, this suggests that the near-infrared spectrums are appropriate to be used for prediction of eggshell thickness and eggshell strength with an acceptable accuracy. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ไข่ไก่ -- เปลือก |
en_US |
dc.subject |
อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี |
en_US |
dc.subject |
Eggs -- Crust |
en_US |
dc.subject |
Infrared spectroscopy |
en_US |
dc.title |
การทำนายความหนาและความแข็งแรงของเปลือกไข่ไก่ด้วยวิธีเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี |
en_US |
dc.title.alternative |
Prediction of eggshell thickness and strength using near-infrared spectroscopy |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |