dc.contributor.advisor |
จันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า |
|
dc.contributor.advisor |
ปรีชา ภูวไพรศิริศาล |
|
dc.contributor.author |
ภูวนัย เวฬุวนารักษ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-03-25T03:41:18Z |
|
dc.date.available |
2022-03-25T03:41:18Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78335 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
เมลานิน (melanin) เป็นสารที่ถูกสร้างขึ้นจากกระบวนการสร้างเม็ดสี (pigmentation) เพื่อ ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการสร้างเม็ดสีในผิวหนังและดวงตาของมนุษย์ ซึ่งถูกสร้างขึ้นภายใน เมลาโนไซต์ (melanocytes) ในชั้นผิวหนังกำพร้า (epidermis) เพื่อตอบสนองต่อรังสี UVB กระบวนการ สังเคราะห์เมลานินเรียกว่า melanogenesis จะเก็บเมลานินที่สังเคราะห์ขึ้นไว้ในเมลาโนโซม (melanosome) เพื่อขนส่งไปยัง keratinocyte ขeางเคียงในชั้นหนังกำพร้า การสร้างเมลานินที่มากจนเกินไปจะทำให้เกิดปัญหา ทางผิวหนัง เช่น จุดด่างดำ หรืออาจพัฒนาไปเป็นมะเร็งผิวหนังได้ นอกจากนี้การได้รับรังสียูวีอย่างต่อเนื่องทำ ให้ดีเอ็นเอเสียหาย (DNA damage) การเกิดมิวเทชันของยีน ระบบภูมิคุ้มกันแย่ลง หรือเกิดการทำลายผิวหนัง จากแสงแดด (photoaging) จึงนำมาสู4งานวิจัยนี้เพื่อหาตัวยับยั้งการทำงานของไทโรซิเนส ซึ่งเป็นเอนไซม์ จำกัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่สำคัญในการเร่งการสังเคราะห์เมลานิน ด้วยการใช้สารสกัดบริสุทธิ์ 3 ชนิด มา ทำการทดสอบการออกฤทธิ์ทางชีวภาพต่อการยับยั้งไทโรซิเนส และคำนวณหาค่าความเข้มข้นที่ใช้ในการยับยั้ง เอนไซม์ที่ร้อยละ 50 (IC50) จากผลการทดลองพบว่าสารสกัดบริสุทธิ์ทั้ง 3 ชนิด ไม4มีประสิทธิภาพในการยับยั้ง การทำงานของไทโรซิเนส เมื่อเทียบกับตัวควบคุมเชิงบวกโกจิกแอซิดที่มีค่า IC50 เท4ากับ 0.588 มิลลิโมลาร์ และร้อยละในการยับยั้งเพิ่มขึ้นตามความเข้มของโกจิกแอซิดอย่างเป็นเส้นตรง ดังนั้นจึงจำเป็นต้อง ทำการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในอนาคตเพื่อหาตัวยับยั้งไทโรซิเนสที่มีประสิทธิภาพดีกว่าโกจิกแอซิด และ ผลข้างเคียงน้อย |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Melanin is a substance that is produced from the pigmentation process. To respond to the environment by the pigment production process in the skin and human eyes which is created within melanocytes in the epidermis to respond for UVB by melanin production process called melanogenesis. Store melanin in melanosome to transport to neighboring keratinocyte in the epidermis. Excessive production of melanin can cause skin problems such as dark spots or may develop into skin cancer. In addition, continuous exposure to UV radiation can cause DNA damage, gene mutations. The immune system getting worse or photoaging. Leading to this research to find tyrosinase inhibitors. Tyrosinase is an enzyme that is ratelimiting enzyme and catalyzes melanin synthesis. By using 3 pure extracts. The bioactive activity was tested for tyrosinase inhibition and to find concentration for the enzyme inhibition was 50% (IC50). The results showed that all 3 pure extracts were ineffective in inhibiting tyrosinase activity when compared to the positive control of kojic acid with an IC50 value of 0.588 mM. The percentage of inhibition increased linearly with kojic acid concentration. Therefore, further research may be needed in the future to find tyrosinase inhibitors that are more effective than kojic acid and have few side effects. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ฟีนอลออกซิเดส |
en_US |
dc.subject |
เมลานิน |
en_US |
dc.subject |
Phenol oxidase |
en_US |
dc.subject |
Melanin |
en_US |
dc.title |
ผลของสารประกอบทางเคมีต่อการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส |
en_US |
dc.title.alternative |
Effect of Chemical Compounds on Tyrosinase Inhibition |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |