dc.contributor.advisor |
สุชญา นิติวัฒนานนท์ |
|
dc.contributor.author |
ธัญสมร ธรรมศิริ |
|
dc.contributor.author |
นพณัช สุฐมานนท์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-20T06:29:39Z |
|
dc.date.available |
2022-04-20T06:29:39Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78404 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
กากของเสียประเภทมูลสัตว์จากการทำปศุสัตว์ในการผลิตของภาคเกษตรกรรมที่นอกจากจะนำมูลสัตว์ไปใช้ประโยชน์ต่อในลักษณะของปุ๋ยแล้ว มูลสัตว์ยังสามารถนำมาแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงได้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการผลิตเชื้อเพลิงแข็งจากมูลวัวนม โดยตัวแปรที่ศึกษาคือ อัตราส่วนของผงถ่านมูลวัวนมต่อผงถ่านจากไม้ไผ่ สัดส่วนปริมาณของตัวประสานที่ส่งผลต่อองค์ประกอบและค่าความร้อนของเชื้อเพลิงแข็ง และความดันที่ใช้ในการอัดถ่านมูลวัวที่ส่งผลต่อค่าความร้อนของเชื้อเพลิงแข็ง ในการทดลองนำถ่านมูลวัวที่ผ่านการคาร์บอไนเซชันมาผสมกับผงถ่านจากไม้ไผ่และใช้สัดส่วนของตัวประสานในอัตราที่กำหนดไว้ หลังจากนั้นนำมาอัดแท่งด้วยกรรมวิธีอัดร้อน จากนั้นนำถ่านมูลวัวนมที่ผ่านการอัดแท่งมาทำการวิเคราะห์องค์ประกอบและหาค่าความร้อนของมูลวัวนม ผลการทดลองพบว่า ค่าความร้อนของมูลวัวนมแห้งอยู่ที่ 10899.57 กิโลจูลต่อกิโลกรัม เมื่ออัตราส่วนผงถ่านจากไม้ไผ่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ค่าความร้อนของถ่านมูลวัวเพิ่มมากขึ้น จาก 12547.02 กิโลจูลต่อกิโลกรัมเป็น 15962.45 กิโลจูลต่อกิโลกรัม เมื่อสัดส่วนของตัวประสานเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ค่าความร้อนของถ่านมูลวัวมีค่าลดลงจากเดิมที่ตัวประสานร้อยละ 3 มีค่าความร้อน 15962.45 กิโลจูลต่อกิโลกรัมและที่ตัวประสานร้อยละ 12 มีค่าความร้อน 14669.94 กิโลจูลต่อกิโลกรัมและความดันในการอัดถ่านมูลวัวไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความร้อนที่มีค่าเฉลี่ย 16953.12 กิโลจูลต่อกิโลกรัม สามารถสรุปได้ว่า ถ่านมูลวัวที่สัดส่วนตัวประสานร้อยละ 9 เป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดสำหรับค่าความร้อนและลักษณะทางกายภาพ มีค่าความร้อน 15142.41 กิโลจูลต่อกิโลกรัมและมูลวัวสามารถนำมาเป็นเชื้อเพลิงแข็งได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
A cow manure from livestock production in agricultural production can be used as a fertilizer and also can be transformed into a fuel. The objective for this study is to study the process to transform the cow manure into solid fuel. The carbonization process, the ratio of charcoal from cow manure to charcoal from bamboo, the percentage of binder and the pressure of compression were studied. In the experiment, the carbonized cow manure charcoal was mixed with bamboo charcoal then compressed into briquettes using hot compression. The briquettes were analyzed for the proximate analysis and the heating value. The results showed that the heating value of the raw cow manure was 10899.57 kJ/kg. When the ratio of charcoal from bamboo increased, the heating value increased from 12547.02 kJ/kg to 15962.45 kJ/kg. The percentage of binder increased from 3 to 12, the heating value of cow manure charcoal decreased from 15962.45 kJ/kg to 14669.94 kJ/kg. The pressure of the compression does not affect the heating value which had the average of 16953.12 kJ/kg. It can be concluded that the briquettes with 9% of binder is the best choice for heating value and physical appearance with 15142.41 kJ/kg and the cow manure can be utilized as solid fuel. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
มูลสัตว์ |
en_US |
dc.subject |
ก๊าซเชื้อเพลิง |
en_US |
dc.subject |
Manures |
en_US |
dc.subject |
Gas as fuel |
en_US |
dc.title |
การศึกษาความเป็นไปได้ในการนำมูลวัวมาใช้เป็นเชื้อเพลิงแข็ง |
en_US |
dc.title.alternative |
Possibly of using cow manure as a solid fuel |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |