dc.contributor.advisor |
สธน วิจารณ์วรรณลักษณ์ |
|
dc.contributor.author |
ติณณ์ ภวสันต์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-20T08:59:18Z |
|
dc.date.available |
2022-04-20T08:59:18Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78417 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาฟิสิกส์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
ปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครนั้นมีการกล่าวถึงสาเหตุที่มาของมันหลากหลาย ประการ รายงานฉบับนี้จึงมุ่งเน้นไปยังการหาสาเหตุและต้นตอของฝุ่นเหล่านั้นโดยใช้สมมติฐานที่หนึ่งว่าฝุ่นได้ ถูกพัดพามาจากจุดที่มีการเผานอกกรุงเทพมหานคร และตั้งสมมติฐานที่สองว่าฝุ่นเกิดจากในกรุงเทพมหานคร จากการใช้รถใช้ถนน จากนั้นทำการพิสูจน์สมมติฐานแรกด้วยการทำการทดลองโดยการใช้ข้อมูลฝุ่นจากกรม ควบคุมมลพิษ ข้อมูลไฟจาก FIRMS และข้อมูลทิศทางลมจาก HYSPLIT มาประกอบกัน นำข้อมูลจุดที่มีการ เผาไหม้ในทิศทางลมในช่วงเวลา 24 ชั่วโมงมาเปรียบเทียบกับฝุ่นในกรุงเทพมหานคร จากการทดลองแล้ว พบว่าไม่มีความเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน ต่อมาจึงทดสอบสมมติฐานที่สอง คือการใช้รถใช้ถนนนั้นมีผลต่อฝุ่นใน กรุงเทพมหานคร จึงได้ทำการเปรียบเทียบข้อมูลฝุ่นในช่วงปกติของปี พ.ศ. 2562 และช่วงที่มีมาตรการปิด เมืองของ พ.ศ. 2563 ผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่ามาตรการปิดเมืองไม่มีผลต่อปริมาณฝุ่นใน กรุงเทพมหานครในช่วงเวลาดังกล่าวเช่นเดียวกัน จากนั้นรายงานฉบับนี้มองไปยังความสัมพันธ์ของทิศทางลม และปริมาณฝุ่น ทำการตรวจสอบว่ารูปแบบลมแบบไหนมีผลต่อปริมาณฝุ่นอย่างไร และกระแสลมนั้นพัดพา ฝุ่นไปที่ใดหรือไม่ ผลการทดลองคือในเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 ถ้าหากกระแสลมอ่อนพัดกระจายตัวไปทั่ว พื้นที่ภาคกลางจะทำให้มีปริมาณฝุ่นในกรุงเทพมหานครสูงมากขึ้น และถ้าหากมีกระแสลมแรงพัดขึ้นจากทะเล จะทำให้พื้นที่ทางเหนือของกรุงเทพมหานครนั้นมีปริมาณฝุ่นมากขึ้นเพราะฝุ่นถูกพัดพาขึ้นไปจากกรุงเทพมหานคร |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
PM 2.5 dust problem in Bangkok are wildly debate for its source. This project mainly aims to locate the origin of the PM2.5 dust with the first hypothesis that the dust travel with the wind into Bangkok from burning spots from the region outside. Data include dust level from Pollution Control Department, wind’s direction from HYSPLIT, and fire’s spot from FIRMS, with all of this date the fire’s spot in wind’s direction are counted and compare to dust level in Bangkok with resolution of 24 hour. The result of the first hypothesis is false, dust level and fire’s spot in wind’s direction isn’t related. Second hypothesis is the PM2.5 dust originate directly inside Bangkok from local traffic activity. Experiment setup with normal time in 2019 compare to quarantine time in 2020 and result rejected the second hypothesis as well. After that we look into the relation between wind and dust level in Bangkok to find if the wind pattern effected the dust. We found that when the low speed wind spread across Thailand’s central region, dust level in Bangkok will rise and but when the wind blows from sea, south of Bangkok, dust in province north of Bangkok will increase because of the dust form Bangkok. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ฝุ่น -- ไทย -- กรุงเทพฯ |
en_US |
dc.subject |
มลพิษทางอากาศ -- ไทย -- กรุงเทพฯ |
en_US |
dc.subject |
Dust -- Thailand -- Bangkok |
en_US |
dc.subject |
Air -- Pollution -- Thailand -- Bangkok |
en_US |
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฝุ่น PM2.5 ในกรุงเทพมหานคร และปริมาณจุดความร้อนและทิศทางลมในภูมิภาค |
en_US |
dc.title.alternative |
The relation between levels of PM2.5 dust in Bangkok and hotspot and wind’s direction in the region |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |