dc.contributor.advisor |
มัณฑนา โอภาประกาสิต |
|
dc.contributor.author |
มนัสวี ยอดจิต |
|
dc.contributor.author |
มนัสวี อินทรสุข |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-26T02:45:43Z |
|
dc.date.available |
2022-04-26T02:45:43Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78474 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประโยชน์ขวดน้ำ PET (RPET) เป็นวัสดุเสริมแรงให้แก่พอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง (HDPE) โดยศึกษาผลของอัตราส่วนการผสม ความเร็วเครื่องตัดเม็ดเรซิน เกรดของ HDPE (H6140B, H6670B และ H377C) ต่อลักษณะของ RPET ที่กระจายตัวในเนื้อ HDPE เมทริกซ์ ภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์อิเลกตรอนแบบส่องกราดของเม็ด RPET/PP ที่เตรียมด้วยเครื่องอัดรีดแบบสกรูคู่ แสดงให้เห็นว่า RPET ไม่สามารถผสมเข้ากันได้กับ HDPE อนุภาค RPET มีลักษณะกลมบ้าง รีบ้าง และลักษณะคล้ายเส้ยใยขนาดเล็ก กระจายทั่วฟื้นผิว HDPE เมื่อพิจารณาผลของ RPET/HDPE พบว่าอนุภาค RPET ที่กระจายใน HDPE เมทริกซ์ของพอลิเมอร์ผสม 20/80 RPET/HDPE มีขนาดอนุภาคที่เล็กกว่าที่พบในพอลิเมอร์ผสม 10/90 RPET/HDPE จึงสรุปได้ว่าปริมาณ RPET ที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่อขนาดอนุภาค RPET อีกทั้งเมื่อเตรียม RPET/HDPE ด้วยความเร็วตัดเม็ดสูง เอกทรูเดดที่ถูกดึงด้วยอัตราเร็วมากส่งผลให้ได้ขนาดอนุภาค RPET เล็กและเกิดเป็นลักษณะไฟบริลได้ดี ผลของ HDPE ที่มีค่า MFI ต่างกัน แสดงให้เห็นว่าอนุภาค RPET ที่พบใน HDPE เมทริกซ์จะมีขนาดเล็กกว่าเมื่อเตรียมด้วย HDPE ที่มีค่า MFI ต่ำกว่า นอกจากนี้ยังพบว่า RPET/H377C ที่อัตราส่วน 10/90 มีปริมาณ RPET ไฟบริลมากที่สุด เกรดของ HDPE ยังส่งผลต่ออุณหภูมิในการขึ้นรูปด้วยเครื่องอัดรีดแบบสกรูคู่ H377C ที่มีค่า MFI ต่ำที่สุด สามารถขึ้นรูปด้วยช่วงอุณหภูมิขึ้นรูปที่ต่ำกว่า คือ 150-280 องศาเซลเซียสองค์ความรู้จากการศึกษานี้สามารถใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์พลาสติกไซเคิลจาก PET และ HDPE ต่อไปได้ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This research focuses on using PET water bottles as reinforcing materials for high-density polyethylene (HDPE). Effects of RPET/HDPE ratios, operating parameters of resin cutting machine and grade of HDPE (H6140B, H6670B and H377C) on morphology of dispersed in HDPE matrix are studied. Scanning electron microscope images of RPET/HDPE pellets prepared from twin screw extruder show that RPET is immiscible with HDPE. RPET particles with spherical shape, oval shape and microfibril form are dispersed throughout the HDPE matrix. Considering the effect of RPET/HDPE ratio, it is found that RPET particles in the HDPE matrix of 20/80 RPET/HDPE blend are smaller than those found in 10/90 RPET/HDPE blend. Hence, it can be concluded that the amount of RPET phase has significant effect on the particle size of RPET. Moreover, when RPET/HDPE blends are fabricated at high speed of resin cutting machine, extrudate pulled at high stretching rate results in smaller RPET particles and formation of RPET microfibril. Results of HDPE with different MFI present that RPET particles found in the HDPE matrix with lower MFI are smaller. It is found that RPET/H377C at the ratio of 10/90 contains the highest amount of RPET microfibril Grade of HDPE also influences on temperature profile of the twin-screw extruder. H377C with the lowest MFI can be fabricated with much lower temperature range of 150-280 degrees Celsius. The basic knowledge from this study can be used for further development of recycled plastic products from PET and HDPE. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ไมโครไฟบริล |
en_US |
dc.subject |
โพลิเอทิลีน |
en_US |
dc.subject |
Microfibrils |
en_US |
dc.subject |
Polyethylene |
en_US |
dc.title |
พอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูงเสริมแรงด้วยไมโครไฟบริลจากรีไซเคิลพีอีที |
en_US |
dc.title.alternative |
HDPE reinforced with microfibrils from recycled PET |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |