dc.contributor.advisor |
มารุต เฟื่องอาวรณ์ |
|
dc.contributor.author |
วิมลรัตน์ แก้วเมือง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-04-26T09:43:43Z |
|
dc.date.available |
2022-04-26T09:43:43Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78480 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
ปัจจุบันพื้นที่เกษตรกรรมเขตร้อนกลายเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ในหลายภูมิภาคและมัก เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ป่าธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแต่ผลกระทบ ต่อสัตว์ขาปล้องในดินมีการศึกษาวิจัยน้อย การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความ หนาแน่นและความหลากหลายของสัตว์ขาปล้องในดิน ในพื้นที่เกษตรกรรมเขตร้อนบริเวณ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเปรียบเทียบบริเวณพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน คือป่าไม้ธรรมชาติ สวนยางพาราอายุ 13 ปี และสวนปาล์มอายุ 5 ปี ด้วยวิธีวางกับดักหลุม (Pitfall trap) จากการเก็บตัวอย่าง 1 ครั้งในเดือนพฤษภาคม 2563 พบกลุ่ม (taxa) สัตว์ขาปล้องในดิน ทั้งหมด 11 กลุ่ม ป่าไม้ธรรมชาติ 11 กลุ่ม, สวนยางพาราอายุ 13 ปี 9 กลุ่ม และสวนปาล์มอายุ 5 ปี 5 กลุ่ม โดยสวนยางพาราอายุ 13 ปี มีความหนาแน่นของสังคมสัตว์ขาปล้องในดินเฉลี่ยมากที่สุด เท่ากับ 291.40 ตัว/หลุม กลุ่มของสัตว์ขาปล้องในดินบริเวณพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกันพบ กลุ่มที่พบมาก 2 กลุ่ม คือ F. Formicidae และ O. Collembola คิดเป็นร้อยละ 52.74 และ 43.07 ตามลำดับ และค่าดัชนีความหลากหลายของ Shannon-wiener (H’) มีค่าสูงที่สุดในพื้นที่ป่าไม้ ธรรมชาติ เท่ากับ 1.334 การศึกษาครั้งนี้ พบว่าการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ส่งผลให้ความหลากหลายของกลุ่มสัตว์ขาปล้องลดต่ำลง แต่ความหนาแน่นของประชากรเพิ่มสูงขึ้น |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
At present, tropical agricultural areas become a major land cover in many regions of Thailand, often resulting from forest conversion by human. This change affects various organisms in that ecosystem but there are few studies on soil arthropods in this context. This study aims to compare the density and diversity of soil arthropods in the tropical agricultural system in Thung Song District, Nakhon Si Thammarat Province, Thailand, specifically comparing between a natural forest, rubber plantation (aged 13 years), and palm plantation (aged 5 years), and using the pitfall trap technique. There was only one sampling occasion in this study (in May, 2020). The results found 11 soil arthropod taxa: 11 taxa in the natural forest, 9 taxa in a rubber plantation, and 5 taxa in a palm plantation. A rubber plantation had the highest density of soil arthropods (2 9 1 .40 individuals per pitfall trap). The two most abundant taxa were F. Formicidae และ O. Collembola, about 52.74%, and 43.07%, respectively. The Shannon-wiener index (H’) is highest (1.334) in the natural forest. This study found that land use changes (from forest to agricultural areas) decreased the diversity of soil arthropods but increased the density of this group of soil animals. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
อาร์โทรโปดา |
en_US |
dc.subject |
ความหลากหลายของสัตว์ -- ไทย -- นครศรีธรรมราช |
en_US |
dc.subject |
Arthropoda |
en_US |
dc.subject |
Animal diversity -- Thailand -- Nakhon Si Thammarat |
en_US |
dc.title |
สัตว์ขาปล้องในดินที่พบในบริเวณพื้นที่เกษตรกรรมเขตร้อน :กรณีศึกษาใน อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช |
en_US |
dc.title.alternative |
Soil arthropods in tropical agricultural areas : a case study in Thung Song District, Nakhon Si Thammarat Province |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |