DSpace Repository

การจำลองสภาพแวดล้อมโดยอ้างอิงจากตัวบ่งชี้เรณูวิทยาบริเวณหนองคอนไทย อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ

Show simple item record

dc.contributor.advisor อัคนีวุธ จิรภิญญากุล
dc.contributor.advisor ปรมิตา พันธ์วงศ์
dc.contributor.author พชร ขาวล้วน
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-05-02T02:19:47Z
dc.date.available 2022-05-02T02:19:47Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78496
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 en_US
dc.description.abstract เรณูวิทยาของพืชแต่ละชนิดจะมีสัณฐานเฉพาะ สามารถต้านทานการกัดกร่อนและสามารถบอกสังคมของพืชบริเวณที่โดยรอบได้ จึงเป็นตัวบ่งชี้ที่นิยมนำมาใช้ในการประเมินการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมร่วมกับธรณีเคมี และตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ จากการวิเคราะห์ละอองเรณูรวม 8 ตัวอย่าง และมวลที่หายไปจากการเผารวม 100 ตัวอย่าง พบว่า ละอองเรณูไม่มีการเปลี่ยนแปลงชนิดของพันธุ์พืชและปริมาณอย่างมีนัยสำคัญ แต่มวลที่หายไปจากการเผาที่อุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียสมีการเปลี่ยนแปลง พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงเป็นปริมาณอินทรีย์วัตถุเป็นวัฏจักร โดยช่วงความลึกที่มีปริมาณอินทรีย์วัตถุสูง สะสมตัวร่วมกับตะกอนดินเหนียวสีเข้ม ที่พบซากพืช ซากอินทรีย์ในเนื้อตะกอน บ่งชี้ว่าตะกอนนี้ได้รับอิทธิพลจากน้ำท่าปริมาณมากที่พัดพาอินทรีย์วัตถุมาสะสมตัวในทะเลสาบมาก และช่วงความลึกที่มีพบปริมาณอินทรีย์วัตถุน้อย โดยไม่พบซากพืช ซากอินทรีย์สะสมในเนื้อตะกอน บ่งชี้ว่าตะกอนนี้ได้รับอิทธิพบจากน้ำท่าปริมาณน้อย ดังนั้นละอองเรณู อินทรียวัตถุ และตะกอนหนองคอนไทย มีต้นกำเนิดจากน้ำท่าไหลผ่านผิวดินพาอินทรียวัตถุและตะกอนเข้าสู่ทะเลสาบ en_US
dc.description.abstractalternative Palynology features a specific morphology which will resist corrosion and indicate the plant society surrounding area, consequently, it's a popular indicator used to assess the environment change alongside geochemistry and biomarkers. Pollen analysis used 8 sediment samples and loss on ignition used 100 sediment samples for analyzing. The results showed pollens don't change species and quantity significantly but the amount of loss on ignition at 550 Celsius has changed which showed there have changed the quantity of organic carbon could be a cycle. The depth range which has high organic matter, deposit with the dark-colored clay sediment, and located organic remains indicate the sediment is influenced by a large volume of runoff. Moreover, the depth range is lacking off plant remains or has low organic matter content indicates that sediment has been influenced by a few volumes of runoff. Therefore, the origination of Pollen, organic material and sediment from the runoff flowing through the surface of the soil, bring organic matter, and sediment into the lake. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เรณูวิทยา -- ไทย -- ชัยภูมิ en_US
dc.subject Palynology -- Thailand -- Chaiyaphum en_US
dc.title การจำลองสภาพแวดล้อมโดยอ้างอิงจากตัวบ่งชี้เรณูวิทยาบริเวณหนองคอนไทย อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ en_US
dc.title.alternative Environmental reconstruction based on palynology in Khon Thai Lake Area, Phu Khiao District, Chaiyaphum province en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record