dc.contributor.advisor |
จิรารัช กิตนะ |
|
dc.contributor.author |
สุรเชฏฐ์ เกียรติชูพิพัฒน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-02T09:25:48Z |
|
dc.date.available |
2022-05-02T09:25:48Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78519 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
คางคกบ้าน Duttaphrynus melanostictus มีการกระจายพันธุ์ทั่วไปเป็นวงกว้าง มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย และมีขนาดประชากรใหญ่ จึงทำให้สามารถแพร่กระจาย และเพิ่ม จำนวนได้อย่างรวดเร็ว แต่การศึกษาเกี่ยวกับจุลกายวิภาคและการเจริญของอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธ์ในสัตว์ สะเทินน้ำสะเทินบกกลุ่มคางคกยังมีอยู่จำกัด ในการศึกษาครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาจุลกายวิภาคของ อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์และรูปแบบการเจริญเพื่อแยกเพศของคางคกบ้านในระยะสิ้นสุดเมทามอร์โฟซิส โดยการเก็บตัวอย่างลูกอ้อดคางคก จำนวน 30 ตัว จากแหล่งน้ำภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในเดือน ตุลาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน ปี พ.ศ. 2562 เมื่อถึงระยะสิ้นสุดเมทามอร์โฟซิสหลัง การุณฆาตและนำมาตรวจสอบระยะการเจริญทางสัณฐานภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอตามระบบของ Gosner (1960) และบันทึกข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ ความยาวตั้งแต่ปลายจมูกจนถึงรูทวาร และบันทึกภาพลักษณะ ภายนอกด้วยกล้องถ่ายภาพ รักษาสภาพทั้งตัว นำเนื้อเยื่อมาทำสไลด์ถาวรด้วยวิธี Paraffin Method และ ย้อมด้วยสี Hematoxylin และ Eosin แล้วนำไปศึกษาลักษณะทางจุลกายวิภาคภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบ ใช้แสง ผลการศึกษาพบว่า อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของ D. melanostictus ทั้งหมดในระยะสิ้นสุดเมทามอร์โฟซิสเป็น indifferent gonad ที่อยู่ในช่วงของการสร้าง genital ridge ลักษณะสำคัญที่พบ ได้แก่ เนื้อเยื่ออวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์มีการแยกออกเป็น 2 ชั้น ได้แก่ เนื้อเยื่อชั้นใน และเนื้อเยื่อชั้นนอก อีกทั้ง ยังสามารถสังเกตเห็น primordial germ cell ปรากฏอยู่บริเวณเนื้อเยื่อชั้นนอก ซึ่งโครงสร้างของอวัยวะ สร้างเซลล์สืบพันธุ์ในระยะดังกล่าว ยังไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อแยกเพศ จึงไม่สามารถระบุได้ว่ารูปแบบ การเจริญเพื่อแยกเพศของคางคกชนิดนี้เป็นรูปแบบใด ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ไม่ได้มีการติดตามการเจริญ ภายหลังระยะดังกล่าว ดังนั้นเพื่อเป็นการยืนยันถึงรูปแบบของการเจริญเพื่อแยกเพศที่แน่ชัดในคางคกบ้าน จึงควรมีการศึกษาอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในระยะหลังสิ้นสุดเมทามอร์โฟซิสในงานวิจัยต่อไป |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Asian common toad Duttaphrynus melanostictus is widely distributed and has tolerance to several kinds of habitats. It has a large population and spreads rapidly. However, there’s a lack of information about microanatomy and development of gonad in bufonids. This study aims to examine the microanatomy of gonad and pattern of sex differentiation in Asian common toad at complete metamorphosis stage. In October and November 2019, tadpoles were collected from a pond in Chulalongkorn University when they reached complete metamorphosis, 30 froglets were euthanized. After euthanasia, samples were identified the stage of development by morphology according to Gosner ( 1960) under a stereomicroscope and measured for snout- to- vent length ( SVL) . Then, the sample was photographed, fixed, preserved, and processed by Paraffin Method and stained with Hematoxylin and Eosin. After that, the tissue was observed under a light microscope. The result showed that all gonads of D. melanostictus at complete metamorphosis stage were indifferent gonads in the period of genital ridge formation. In this stage, tissue of the indifferent gonads composed of 2 layers including medulla and cortex. Primordial germ cells located in the cortex layer. From the result of gonad structure, there were still in undifferentiated phase. Therefore, the pattern of sex differentiation in this species cannot be identified at complete metamorphosis stage. However, in this study, the samples after complete metamorphosis have not been observed. To confirm the pattern of sex differentiation in this species, studying of the gonad after complete metamorphosis is needed in further study. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
คางคก -- อวัยวะสืบพันธุ์ |
en_US |
dc.subject |
Toads -- Generative organs |
en_US |
dc.title |
จุลกายวิภาคของอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของคางคกบ้าน Duttaphrynus melanostictus (Schneider, 1799) ในระยะสิ้นสุดเมทามอร์โฟซิส |
en_US |
dc.title.alternative |
Microanatomy of gonad structure of Asian common toad Duttaphrynus melanostictus (Schneider, 1799) at complete metamorphosis |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |