dc.contributor.advisor |
เฟืองฟ้า อุ่นอบ |
|
dc.contributor.author |
นัยน์ปพร สูติพันธ์วิหาร |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-06T09:11:40Z |
|
dc.date.available |
2022-05-06T09:11:40Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78543 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 |
en_US |
dc.description.abstract |
การปนเปื้อนของอาร์เซนิกเป็นสาเหตุหนึ่งของมลพิษในแหล่งน้ำ ที่ส่งให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพมนุษย์ ได้ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการกำจัดอาร์เซนิกออกจากน้ำทิ้งอุตสาหกรรม ในงานวิจัยนี้ได้สังเคราะห์ คอมโพสิตของนาโนเซลลูโลสและไคโตซาน สำหรับกำจัดอาร์เซนิก โดยทำการดัดแปรพื้นผิวของเซลลูโลสด้วย 3-mercaptopropyltrimethoxysilane เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซับอาร์เซนิก ทำการตรวจสอบการ ดัดแปรผิวเซลลูโลสด้วยเทคนิค FTIR Spectroscopy โดยทำการสังเคราะห์วัสดุดูดซับ 8 ชนิด ได้แก่ NC, MC, NCSH, MCSH, NCCH, MCCH, NCSHCH และ MCSHCH และศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุดูดซับ ได้แก่ พื้นผิวของวัสดุดูดซับและความสามารถในการดูดซึมน้ำของวัสดุดูดซับ พบว่าวัสดุดูดซับทั้งหมดสามารถ ดูดซึมน้ำได้ดีและมีค่าเปอร์เซ็นการดูดซับน้ำ (Esr) ในช่วง 500-2500 % เมื่อทำการตรวจวัดประสิทธิภาพของ การดูดซับ As(III) และ As(V) ของวัสดุดูดซับทั้งหมด พบว่ามีเพียงวัสดุดูดซับคอมโพสิต NCCH, MCCH, NCSHCH และ MCSHCH ที่สามารถดูดซับ As(III) และ As(V) โดยมีความจุการดูดซับอยู่ในช่วง 0.8-1.6 และ 4-7 mg/g ตามลำดับ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Arsenic contamination is one of water pollution problems that can cause arsenic poisoning in human. Therefore, it is mandatory to remove arsenic from wastewater. In this research, composite of nanocellulose and microcrystalline cellulose with chitosan were synthesized and used for arsenic removal. The cellulose surface was modified with 3-mercaptopropyltrimethoxysilane to increase the efficiency of arsenic adsorption. The physical properties of these absorbent materials including surface morphology and water uptake were investigated. The researchers synthesized eight absorbent materials namely NC, MC, NCSH, MCSH, NCCH, MCCH, NCSHCH, and MCSHCH. These adsorbent materials exhibited high water uptake with water absorption percentage in the range 500-2500%. The adsorption efficiency of As (III) and As (V) of these adsorbents was determined and compared. It was found that only NCCH, MCCH, NCSHCH, and MCSHCH composites could adsorb As (III) and As (V) with the adsorption capacity in the range of 0.8-1.6 and 4-7 mg/g, respectively. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
สารหนู |
en_US |
dc.subject |
น้ำใต้ดิน -- การทำให้บริสุทธิ์ -- การกำจัดสารหนู |
en_US |
dc.subject |
Arsenic |
en_US |
dc.subject |
Groundwater -- Purification -- Arsenic removal |
en_US |
dc.title |
คอมโพสิตของนาโนเซลลูโลสและไคโตซานสำหรับกำจัดอาร์เซนิก |
en_US |
dc.title.alternative |
Cellulose-chitosan composite for arsenic removal |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |