DSpace Repository

แอนตาโกนิสติกแบคทีเรียที่สามารถยับยั้ง Bipolaris maydis ที่ก่อโรคในข้าวโพด

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปาหนัน เริงสำราญ
dc.contributor.author ธัญณาพร สุนทรวารี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-06-15T09:15:15Z
dc.date.available 2022-06-15T09:15:15Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78815
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายในการแยกรา Bipolaris maydis ที่ก่อโรคใบไหม้แผลเล็กในข้าวโพด และ คัดกรองแบคทีเรียที่มีความสามารถในการยับยั้งราก่อโรคพืชชนิดนี้ โดยใช้แบคทีเรีย 10 สายพันธุ์ที่ได้จาก งานวิจัยก่อนหน้า จากการคัดแยกราก่อโรคจากใบข้าวโพดที่เป็นโรค และตรวจสอบลักษณะทางสัณฐาน วิทยาพบว่าได้ราที่มีลักษณะของ B. maydis คือ โคโลนีสีเทาดำ ลักษณะของเส้นใยมีสีน้ำตาลดำที่มีผนัง กั้น คอนิเดียมีรูปร่างรียาวโค้งเล็กน้อย ที่แบ่งเป็น 5-11 เซกเมนต์ เมื่อนำมาทดสอบการยับยั้งด้วยการ เลี้ยงร่วมกับแบคทีเรียทั้ง 10 สายพันธุ์ด้วยเทคนิคการขีดเชื้อ พบว่าแบคทีเรียทั้ง 10 สายพันธุ์แสดง ความสามารถในการเป็นปฏิปักษ์ต่อ B. maydis จึงคัดเลือกแบคทีเรียสายพันธุ์ M22 ที่มีเปอร์เซ็นต์การ ยับยั้งสูงที่สุดที่ 24.77% เพื่อนำไปทดสอบในขั้นต่อไป เมื่อนำมาทดสอบประสิทธิภาพการยับยั้งของสาร เมแทบอไลต์ที่ผลิตออกจาก M22 พบว่ามีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งสูงถึง 92.84% เมื่อนำสายพันธุ์ M22 ไป พิสูจน์เอกลักษณ์ โดยการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา พบว่าเซลล์มีรูปร่างเป็นแท่ง ย้อมติดสีแกรม บวก และจากการวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ 16S rDNA พบว่าสายพันธุ์ M22 มีความใกล้เคียง 100% กับแบคทีเรีย Bacillus subtilis CAB 1111 (KJ194590.1) การแปรผันชนิดของอาหารเลี้ยงเชื้อ ที่เหมาะสมในการผลิตสารยับยั้งรา พบว่าอาหารเลี้ยงเชื้อ Luria Bertani (LB) ให้ความสามารถในการ ยับยั้งสูงที่สุด โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งเท่ากับ 92.84±0.00% ผลการทดลองที่ได้นี้จะเป็นแนวทางเพื่อ นำแบคทีเรียเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ B. maydis ซึ่งก่อโรคใบไหม้แผลเล็กใน ข้าวโพดต่อไป en_US
dc.description.abstractalternative The objectives of this study were isolation of Bipolaris maydis, which caused Southern corn leaf blight in maize, and screening of 10 bacterial isolates that previously could inhibit several phytopathogenic fung. By isolating fungi from diseased corn leaf and examining morphology of the isolated fungus, it was found that the fungal morphology was resemble that of B. maydis which were grey-black colony, dark brown septate hyphae, and oval-shape conidia with slightly curve that dividing into 5-10 segments. By testing inhibition ability using 10 bacterial isolates by dual culture streak plate technique, the result showed that all tested bacteria were able to antagonize against B. maydis. Isolate M22 was selected for further experiment dued to its highest inhibition percentage of 24.77%. Extracellular metabolites assay showed that M22 had highest inhibition rate, 92.84%. Morphological study showed that M22 was Gram positive rod shape bacteria. The nucleotide analysis of 16S rDNA revealed that M22 has 100% similarity to Bacillus subtilis CAB 1111 (KJ194590.1). Suitable culture media for the production of bioactive metabolites was evaluated. The test showed that B. subtilis M22 which cultured in Luria Bertani (LB) had highest inhibition rate with its inhibition percentage of 92.84±0.00% The results from this study will be useful and serve as a preliminary data for controlling of Southern corn leaf blight in maize caused by B. maydis. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ข้าวโพด -- โรคและศัตรูพืช en_US
dc.subject เชื้อราปฏิปักษ์ en_US
dc.subject โรคเกิดจากเชื้อราในพืช en_US
dc.subject Corn -- Diseases and pests en_US
dc.subject Antagonistic fungi en_US
dc.subject Fungal diseases of plants en_US
dc.title แอนตาโกนิสติกแบคทีเรียที่สามารถยับยั้ง Bipolaris maydis ที่ก่อโรคในข้าวโพด en_US
dc.title.alternative Antagonistic bacteria against Bipolaris maydis that caused Southern corn leaf blight en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record