dc.contributor.advisor |
สุพัฒน์ เจริญพรวัฒนา |
|
dc.contributor.author |
พิมพ์ชนก พงศ์ทวิช |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-16T02:51:19Z |
|
dc.date.available |
2022-06-16T02:51:19Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78836 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 |
en_US |
dc.description.abstract |
โครงการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อคัดกรองยีสต์จากธรรมชาติที่มีความสามารถในการยับยั้งแบคทีเรียแกรม ลบ 2 สายพันธุ์ได้แก่ Escherichia coli MSCU 0349 และ Pseudomonas aeruginosa MSCU 0359 ในเชิง คุณภาพโดยผลการทดสอบการยับยั้งแบคทีเรียแกรมลบด้วยวิธี agar overlay technique โดยใช้โคโลนีเดี่ยวของ ยีสต์ไอโซเลต พบว่า ไม่มียีสต์ไอโซเลตที่สามารถยับยั้ง Escherichia coli ได้ และมียีสต์ 3 ไอโซเลตที่สามารถ ยับยั้ง Pseudomonas aeruginosa ได้แก่ ยีสต์ไอโซเลตที่ 34, 50 และ 53 ซึ่งยีสต์ทั้ง 3 ไอโซเลตนี้มีลักษณะเปน็ เซลล์เดี่ยวรูปทรงแท่ง และคัดกรองได้จากน้ำทะเล และเมื่อทำการทดลองต่อไปโดยการเปรียบเทียบความสามารถ ในการยับยั้งแบคทีเรียแกรมลบของ ส่วนน้ำใส, เซลล์มีชีวิต และ เซลล์ที่โซนิเคต ของยีสต์ไอโซเลตด้วยวิธี agar well diffusion พบว่า ส่วนน้ำใส และ เซลล์ที่โซนิเคต ของยีสต์ทั้ง 3 ไอโซเลต ไม่สามารถยับยั้ง P. aeruginosa ได้ แต่เซลล์มีชีวิต ของยีสต์ทั้ง 3 ไอโซเลต นั้นสามารถยับยั้ง P. aeruginosa ได้ ทั้งนี้จากผลการทดลองจึงทำให้ พบยีสต์จากธรรมชาติที่สามารถต้าน P. aeruginosa จึงอาจจะเป็นทางเลือกใหม่ในอนาคตที่จะนำมาใช้ประโยชน์ ทางการแพทย์ในการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย แต่ทั้งนี้งานวิจัยนี้ยังจำเป็นต้องได้รับการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในการใช้ยีสต์ดังกล่าวกับร่างกายมนุษย์ต่อไป |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This research project purpose is to screen yeasts from nature that have ability to inhibit two species of Gram-negative bacteria that were Escherichia coli MSCU 0349 and Pseudomonas aeruginosa MSCU 0359 in term of quality. The test results for the inhibition of Gram-negative bacteria by the agar overlay technique using a single colony of isolate yeast found that no isolate yeast was able to inhibit Escherichia coli and there were three isolate yeast that could inhibit Pseudomonas aeruginosa that were 34th 50th and 53rd isolate yeast. These three isolate yeasts were single cell, rod-shaped and screenable from sea water. Research continues by compare ability to inhibit Gram-negative bacteria of supernatant, living cell and sonicated cell of isolate yeast using agar well diffusion method. It found that supernatant and sonicated cell of each three isolate yeast could not inhibit P. aeruginosa, but living cell of each three isolate yeast could inhibit P. aeruginosa. This experiment found natural yeasts that have ability to inhibit P. aeruginosa. This may be a new option of bacterial infections treatment in the future. But further research about the safety of using such yeast for the human body is needed to be done. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
แบคทีเรียแกรมลบ |
en_US |
dc.subject |
ยีสต์ |
en_US |
dc.subject |
Gram-negative bacteria |
en_US |
dc.subject |
Yeast |
en_US |
dc.title |
การคัดกรองยีสต์จากธรรมชาติที่มีความสามารถในการต้านแบคทีเรียแกรมลบ |
en_US |
dc.title.alternative |
Screening of yeasts from nature capable of inhibiting Gram-negative bacteria |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |