DSpace Repository

การสร้างแผนที่ที่ราบน้ำท่วมถึง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยใช้ดัชนีภูมิประเทศ

Show simple item record

dc.contributor.advisor สันติ ภัยหลบลี้
dc.contributor.author เกษมสรรค์ สุทธคุณ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-06-22T06:09:11Z
dc.date.available 2022-06-22T06:09:11Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78909
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 en_US
dc.description.abstract ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเป็นภาคส่วนที่มีที่ราบมากที่สุดในประเทศ โดยมีลักษณะเป็นแอ่งกระทะ โดยแบ่งเป็น แอ่งสกลนครทางด้านเหนือ และแอ่งโคราชด้านใต้ ซึ่งถูกแบ่งด้วยเทือกเขาภูพานขั้นเอาไว้ โดยลักษณะดังกล่าวนั้นสามารถทำให้เกิดภัยพิบัติน้ำท่วมขังได้จากพื้นที่ราบปริมาณมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้นิสิตผู้จัดทำโครงการสนใจในการหาขอบเขตพื้นที่ที่ราบน้ำท่วมถึง ซึ่งจะใช้ค่าดัชนีภูมิประเทศในการหาพื้นที่ที่ราบน้ำท่วมถึง โดยจะทำทั้งหมดสามวิธี ได้แก่วิธี Floodplain Mapping Tool โดยวิธีนี้จะเป็นการสร้างพื้นที่ผิวน้ำสามมิติจากลักษณะธรณีสัณฐานบริเวณริมตลิ่งมาเพื่อคำนวณหาขอบเขตพื้นที่น้ำท่วม Multi-Resolution Valley Bottom Flatness วิธีนี้จะเป็นการใช้ค่าดัชนีความราบเรียบ และความต่ำ ที่อยู่ในค่าศูนย์ถึงหนึ่งซึ่งได้จากการคำนวณในแต่ละช่องข้อมูลของดัชนีภูมิประเทศ จากนั้นนำทั้งสองค่ามารวมกันเพื่อหาพื้นที่ราบน้ำท่วมถึง และวิธี Valley Bottom Extraction เป็นการใช้ทางน้ำเข้ามาช่วยในการหาขอบเขตที่ราบน้ำท่วมถึง และจะกำหนดความชันในการวิเคราะห์หาพื้นที่ราบน้ำท่วมถึงที่ขยายออกมาจากทางน้ำ จากนั้นนำมาเปรียบเทียบขอบเขตพื้นที่กับแผนที่น้ำท่วมในอดีต และตะกอนทางน้ำยุคควอเทอร์นารี ซึ่งจากผลที่ได้นั้นวิธี Floodplain Mapping Tool มีความใกล้เคียงกับพื้นที่น้ำท่วมในอดีต และยังครอบคลุมพื้นที่ตะกอนทางน้ำเป็นส่วนมาก en_US
dc.description.abstractalternative North eastern Thailand is the most plain in the country. Which looks like a pan basin divided into the Sakon Nakhon basin on the north side and the Korat basin in the south. Which was divided by the Phu Phan Rang mountains. By such a nature, it can cause disasters to flood from large plains in the Northeast. Causing students who are preparing the project to be interested in finding the boundaries of the floodplain area Which will use the topographic index to find the floodplain area It will do a total of three ways. First, floodplain mapping Tool creates a three-dimensional water surface area from the top riverbank's geomorphological characteristics to calculate the flood boundary. Second, Multi-Resolution Valley Bottom Flatness uses the zero to one flatness and lowness index values calculated for each terrain index data field. Then combined by multiplication to find the floodplain. Last, Valley Bottom Extraction is the use of stream to help find the boundaries of the flood plains. And will determine the slope in the analysis for the flood plain that extends from the stream. Then compare the area boundary with the past flood maps, and sediments in the Quaternary age. From the results, the Floodplain Mapping Tool method is similar in the past the most flooded area and covers most of the sediment in the stream. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ที่ราบน้ำท่วมถึง -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) en_US
dc.subject การทำแผนที่ธรณีวิทยา -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) en_US
dc.subject Floodplains -- Thailand, Northeastern en_US
dc.subject Geological mapping -- Thailand, Northeastern en_US
dc.title การสร้างแผนที่ที่ราบน้ำท่วมถึง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยใช้ดัชนีภูมิประเทศ en_US
dc.title.alternative Mapping of floodplain in the Northeastern part of Thailand using the topographic index en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record