dc.contributor.advisor |
รัชนีกร ธรรมโชติ |
|
dc.contributor.advisor |
สีหนาท ประสงค์สุข |
|
dc.contributor.author |
ภัทราพร พูลแสวง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-27T04:48:05Z |
|
dc.date.available |
2022-06-27T04:48:05Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78994 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 |
en_US |
dc.description.abstract |
มะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากในผู้หญิงทั่วโลก แม้ว่าจะมีวิธีการรักษาได้หลากหลาย วิธีแต่มักมีผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ ในขณะที่สารสกัดจากสมุนไพรบางชนิดมีฤทธิ์ต้านทานมะเร็ง แต่มีผลข้างเคียงน้อยลง มีรายงานว่าสารสกัดจากใบแปะตำปึง (Gynura procumbens (Lour.) Merr.) มีความสามารถในการต้านมะเร็งเต้านมและมะเร็งกระดูกได้และอาจส่งผลข้างเคียงต่อผู้ป่วย น้อย งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลของสารสกัดจากใบแปะตำปึงที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ และเทียบระหว่างใบ อ่อนและใบแก่ต่อการมีชีวิตของเซลล์มะเร็งปากมดลูกชนิด C33a และ SiHa และการแสดงออกของ ยีน BCL2 และ BAX ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอะพอพโทซิส ผลการศึกษาพบว่าสารสกัดจากใบแปะ ตำปึงจากสามแหล่งคือ ชัยภูมิ ชลบุรี กรุงเทพฯ มีผลต่อการมีชีวิตของเซลล์ในเซลล์มะเร็งปากมดลูก ทั้งสองชนิดแตกต่างกัน โดยสารสกัดจากใบแปะตำปึงมีฤทธิ์ในการลดการมีชีวิตของเซลล์ SiHa ได้ มากที่สุดคือสารสกัดจากใบแปะตำปึงอ่อนจากจังหวัดกรุงเทพฯ ซึ่งมีค่า LC₅₀ เท่ากับ 625.47 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และสารสกัดจากใบแก่จากจังหวัดชลบุรีมีฤทธิ์ลดการมีชีวิตของเซลล์ C33a ได้ มากที่สุด โดยมีค่า LC₅₀ เท่ากับ 143.43 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร อย่างไรก็ตาม พบว่าสารสกัดจากใบ แปะตำปึงไม่มีผลต่อการแสดงออกของยีน BCL2 และยีน BAX ในเซลล์มะเร็งปากมดลูกทั้งสองชนิด อย่างมีนัยสำคัญ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นพื้นฐานของการพัฒนายารักษา มะเร็งปากมดลูกต่อไปในอนาคต |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Cervical cancer is one of the most common cancers in women worldwide. Although there are many methods of treatment, there are often undesirable side effects. While some herbal extracts have anti-cancer effects, they have fewer side effects. Gynura procumbens (Lour.) Merr.) extract has been reported to have anticancer activity in breast cancer cells and bone cancer cells, and may cause fewer side effects. This study studied the effects of extract from purple passion vine leaves from different sources: Chaiyaphum, Chonburi, Bangkok and compared young and old leaves, on the viability and the expression of BCL2 and BAX genes related to apoptosis of SiHa and C33a cervical cancer cells. The results showed that extracts from purple passion vine leaves from three sources had different effects on cell viability in both types of cervical cancer cells. The most effective extract in reducing the viability of SiHa cells was obtained from an extract from the young leaves from Bangkok, which had an LC₅₀ value of 625.47 µg/mL. The extract from the old leaves from Chonburi had the lowest LC₅₀ in C33a cells with the LC₅₀ value of 143.43 µg/mL. However, the purple passion vine leaf extract did not significantly change gene expression of BCL2 and BAX genes in C33a and SiHa cells. The information obtained from this study can be used as a basis for future development of cervical cancer drugs. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ปากมดลูก -- มะเร็ง |
en_US |
dc.subject |
เซลล์มะเร็ง -- การเจริญเติบโต -- การควบคุม |
en_US |
dc.subject |
แปะตำปึง |
en_US |
dc.subject |
Cervix uteri -- Cancer |
en_US |
dc.subject |
Cancer cells -- Growth -- Regulation |
en_US |
dc.subject |
Gynura procumbens |
en_US |
dc.title |
ผลของสารสกัดจากใบแปะตำปึง (Gynura procumbens (Lour.) Merr.) ต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับอะพอพโทซิสและการมีชีวิตของเซลล์มะเร็งปากมดลูก |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of purple passion vine (Gynura procumbens (Lour.) Merr.) leaf extract on expression of apoptosis-related genes and viability of cervical cancer cells |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |