DSpace Repository

ผลของการยืนยันคุณค่าต่ออารมณ์และเจตคติของผู้ที่มีความแตกต่างกันในความเป็นปัจเจกบุคคลนิยมและคติรวมหมู่

Show simple item record

dc.contributor.advisor จรุงกุล บูรพวงศ์
dc.contributor.author พลกฤต ธนธรรมคุณ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2008-09-01T07:04:57Z
dc.date.available 2008-09-01T07:04:57Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741419635
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7938
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาผลของการยืนยันคุณค่าต่ออารมณ์และเจตคติของผู้ที่มีความแตกต่างกันในความเป็นปัจเจก บุคคลนิยมและคติรวมหมู่ ผู้ร่วมการทดลองในการวิจัยครั้งนี้เป็นบุคคลทั่วไปที่มีอายุระหว่าง 17-25 ปี จำนวน 300 คน ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มที่มีความเป็นปัจเจกบุคคลสูงหรือต่ำและมีความเป็นคติรวมหมู่สูงหรือต่ำ รวม 4 กลุ่ม และได้ทำการ ยืนยันคุณค่าในเงื่อนไขที่แตกต่างกันไป 3 เงื่อนไข คือ เงื่อนไขการยืนยันคุณค่าในตนเอง เงื่อนไขการคาดคะเน การยืนยันคุณค่าในตนเองของบุคคลใกล้ชิดและเงื่อนไขการไม่มีการยืนยันคุณค่าในตนเอง ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ที่ได้รับการยืนยันคุณค่าในตนเองมีเจตคติต่อแหล่งของการคุกคามไปในทิศทางบวกมากกว่าผู้ที่ไม่ได้รับการยืนยัน คุณค่าในตนเอง 2. ผู้ที่ได้คาดคะเนการยืนยันคุณค่าในตนเองของบุคคลใกล้ชิดมีเจตคติต่อแหล่ง ของการคุกคาม ไปในทิศทางบวก มากกว่า ผู้ที่ไม่ได้รับการยืนยันคุณค่าในตนเอง 3. ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง (Two-way ANOVA) ไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างเงื่อนไขการยืนยันคุณค่าและลักษณะมุมมองแบบปัจเจกบุคคลนิยม และคติรวมหมู่ 4. ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสามทาง (Three-way ANOVA) พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างเงื่อนไข การยืนยันคุณค่าและลักษณะมุมมองแบบปัจเจกบุคคลนิยม และพบว่าบุคคลที่มีลักษณะมุมมองแบบปัจเจกบุคคลนิยม สูงสามารถยืนยันคุณค่าในตนเองและใช้บุคคลใกล้ชิดเป็นแหล่งของการยืนยันคุณค่าในตนเองได้ดีพอๆกัน แต่ไม่พบ ความแตกต่างในผู้ที่มีลักษณะมุมองแบบปัจเจกบุคคลนิยมต่ำ en
dc.description.abstractalternative This research examined the effects of affirmation on affect and attitude between groups exhibiting different cultural dimensions in dissonance situation. Three-hundred participants were equally assigned into one of the 12 experimental conditions; 4 (individualism high or low / collectivism high or low) x 3 (affirmation conditions self-affirmation or friend- affirmation or no affirmation). A 4x3 ANOVA analysis method was used to examine the results. Results show that: 1. Participants in the self-affirmation condition have significantly more positive attitude toward the source of the dissonance than those who get no affirmation. 2. Participants in the friend-affirmation condition have significantly more positive attitude toward the source of the dissonance than those who get no affirmation. 3. A 4x3 two-way ANOVA reveals no significant interaction between affirmation conditions and individualism/collectivism values. 4. A 2x2x3 three-way ANOVA further shows a significant interaction between affirmation conditions and the individualism value. Participants who have high individualism value and get the self-affirmation or the friend-affirmation conditions have significantly more positive attitude toward the sources of the dissonance than those who get no affirmation. No differences are found in participants with low individualism value. en
dc.format.extent 2961815 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject จิตวิทยาสังคม en
dc.subject จิตวิเคราะห์ en
dc.subject จิตวิทยาปัจเจกบุคคล en
dc.title ผลของการยืนยันคุณค่าต่ออารมณ์และเจตคติของผู้ที่มีความแตกต่างกันในความเป็นปัจเจกบุคคลนิยมและคติรวมหมู่ en
dc.title.alternative The effects of affirmations on affect and attitude of persons with different degrees of individualism and collectivism en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาสังคม es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Jarungkul.B@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record