dc.contributor.advisor |
ธีรดา จงกลรัตนาภรณ์ |
|
dc.contributor.author |
ชยุตม์ ล้ำเลิศสุข |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-23T04:26:43Z |
|
dc.date.available |
2022-07-23T04:26:43Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79603 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา ถึงการสื่อสารนักลงทุนสัมพันธ์การเปิดรับสื่อ ภาพลักษณ์ และการตัดสินใจลงทุนในบริษัทการค้าปลีกมหาชนของนักลงทุน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณด้วยวิธีการเชิงสำรวจ (Survey Research) เพื่อหาความสัมพันธ์ของการสื่อสารนักลงทุนสัมพันธ์การเปิดรับสื่อ ภาพลักษณ์ และการตัดสินใจลงทุนในบริษัทการค้าปลีกมหาชนของนักลงทุน อายุระหว่าง 20-60ปี ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ใช้การสุ่มตัวอย่าง(Sampling) เป็นการสร้างแบบสอบถามออนไลน์เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึงกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ชุดผลการศึกษาพบว่า (1)พบกว่ามีนักลงทุนเพศชายมากที่สุดจำนวน 222 คน คิดเป็นร้อยละ 55.5 และในลำดับต่อมาคือ เพศหญิงจำนวน 178 คน คิดเป็นร้อยละ 44.5 (2)นักลงทุนมีการเปิดรับข่าวสารผ่าน Facebook เป็นระดับสูงสุดที่ 3.67 รองลงมาคือ เว็บไซต์ 3.41 เพื่อน 3.20 Youtube 3.15 และน้อยที่สุดคือ โฆษณาในโรงภาพยนตร์ 1.60 (3)ผลการวิจัยในด้านภาพลักษณ์องค์กร พบว่า นักลงทุนให้ความสำคัญในด้านภาพลักษณ์องค์กร คิดเป็นค่าเฉลี่ยอยู่ที่ (M = 4.16,SD 0.619) (4)ผลวิจัยในด้านทัศนคติต่อการสื่อสารนักลงทุนสัมพันธ์ พบว่า นักลงทุนให้ความสำคัญต่อ นักลงทุนสัมพันธ์ด้วยค่าเฉลี่ย 4.00(5)ผลวิจัยในด้านความตั้งใจลงทุนของนักลงทุน พบว่า นักลงทุนให้ความสำคัญต่อ ความตั้งใจลงทุนด้วยค่าเฉลี่ย 4.23 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aims to understand investor relations, media exposure, image and investment decision on retail business public company among investors. It is survey research studying correlation of investor whose age 20–60-year-old that live in THAILAND by online questionnaire. The sample in this study consisted of 400 members. The result has shown that (1) The amount of male is 222 members accounted for 55.5% and followed by 178 females, accounted for 44.5% (2) the sample group gave priority to news exposure through Facebook as the highest level at 3.67 followed by websites 3.41 friends 3.20 Youtube 3.15 and the least Advertising in the cinema 1.60 (3) Research results on corporate image found that most of the investor samples gave importance to corporate image the most. It was calculated as the mean (M = 4.16,SD 0.619) (4) Research results on attitude towards investor relations communication revealed that investors attach importance to Average Investor Relations 4.00 (5) Research results on investor intentions reveal that investors focus on Investment intent with an average of 4.23 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.662 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
การค้าปลีก |
|
dc.subject |
การลงทุน |
|
dc.subject |
การสื่อสารทางธุรกิจ |
|
dc.subject |
Retail trade |
|
dc.subject |
Investments |
|
dc.subject |
Business communication |
|
dc.title |
การสื่อสารนักลงทุนสัมพันธ์การเปิดรับสื่อ ภาพลักษณ์ และการตัดสินใจลงทุนในบริษัทการค้าปลีกมหาชนของนักลงทุน |
|
dc.title.alternative |
Investor relations, media exposure, image and investment decision on retail business public company among investors |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
นิเทศศาสตร์ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2021.662 |
|