dc.contributor.advisor |
อลิศรา แสงวิรุณ สุจริต |
|
dc.contributor.author |
ณัฐพิมล เกียรติศรีสินธพ |
|
dc.contributor.author |
วิไลลักษณ์ เสงี่ยม |
|
dc.contributor.author |
ศุภาพิชญ์ ทรงจันทร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-08-11T08:35:31Z |
|
dc.date.available |
2022-08-11T08:35:31Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80399 |
|
dc.description |
โครงการปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2564 |
en_US |
dc.description.abstract |
วาร์ฟาริน เป็นยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทานที่มีตัชนีกรรักษาแคบ ทำให้เกิดอาการ
ไม่พึ่งประสงค์ได้ง่าย โดยภาวะเลือดออกเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่สำคัญที่ส่งผลกระทบตั้งแต่ระดับที่ไม่รุนแรงจนถึง
ทำให้เสียชีวิตได้
งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะเลือดออกในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยา
วาร์ฟารินที่มีคำไอเอ็นอาร์สูงเกินช่วงกรรักษา โดยเก็บข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไปที่มีค่า
ไอเอ็นอาร์เกิน 35 และเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยใน ณ โรงพยาบาลตำรวจ ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ถึงเดือน
เมษายน .ศ. 2563 รูปแบบการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลังเพื่อหาความสัมพันธ์ วิเคราะห์ข้อมูสโดยใช้สถิติ
เชิงพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยพหุ
ผู้ป่วยทั้งหมด 112 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 61.6 มีอายุเฉลี่ย 73.22 + 12.72
ปี ค่าไอเอ็นอาร์ที่สูงเกินช่วงการรักษาของผู้ป่วยในการศึกษานี้อยู่ระหว่าง 3.52 - 26.47 คิดเป็นค่าไอเอ็นอาร์เฉลี่ย
6.29 : 4.39 สาเหตุของไอเอ็นอาร์สูงเกินเป้าหมายส่วนใหญ่เกิดจากอันตรกิริยาระหว่างยากับโรค ร้อยละ 46.40,
อันตรกิริยาระหว่างยา ร้อยละ 44.60 และภาวะอัลนูมินในเลือดต่ำ ร้อยละ 41.10 โดยกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออก
รุนแรงมีไอเอ็นอาร์เฉลี่ยมากกว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะเลือดออกและกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกไม่รุนแรงอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ โดยมีค่าไอเอ็นอาร์เฉลี่ย 9.15 + 6.78, 5.16 + 2.14 และ 5.03 + 1.59 ตามลำดับ (P < 0.0001)
จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยที่มีโรคร่วมเป็นโรคมะเร็ง มีโอกาสที่จะเกิดภาวะเลือดออกมากกว่าผู้ป่วยที่ไม่มีโรคร่วมเป็น
โรคมะเร็งถึง 30.11 เท่า (adjusted OR = 30.1 1, 95%CI = 2.78-325.72, p=0.005) และผู้ป่วยที่มีค่าไอเอ็นอาร์
ตั้งแต่ 8 ขึ้นไป มีโอกาสที่จะเกิดภาวะเลือดออกมากกว่าผู้ป่วยที่มีค่ไอเอนอาร์น้อยกว่า 8 ถึง 8.39 เท่า (adjusted
OR = 8.39, 95%CI = 2.53-27.87, P=0.001)เมื่อพิจารณาปัจจัยด้านเพศ และประวัติเคยเกิดภาวะเลือดออก
ร่วมด้วย
โดยสรุป โรคมะเร็งและไอเอ็นอาร์ตั้งแต่ 8 ขึ้นไป เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดภาวะเลือดออกในผู้ป่วยที่ได้รับ
การรักษาด้วยยาวาร์ฟารินที่มีค่าไอเอ็นอาร์สูงเกินช่วงการรักษา ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยจึงควรติดตามการ
เกิดภาวะเลือดออกอย่างใกล้ชิดในผู้ป่วยที่มีปัจจัยเหล่านี้ร่วมด้วย |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Warfarin is an oral anticoagulant with a narrow therapeutic index that can easily cause adverse
drug reactions. Bleeding is a major adverse event that affects from minor bleeding to death.
The objective of this study was to examine factors affecting bleeding in patients receiving
warfarin with supratherapeutic INR. The data were collected from medical records. Patients aged 18
or higher with INR greater than 3.5 who were admitted at Police General Hospital from January 2016
to April 2020 were enrolled in this study. The study design was retrospective descriptive correlational
study. Data were analyzed descriptive statistic and multiple logistic regression.
A total of 112 patients, 69 patients were male (61.6%6). The average age was 73.22 + 12.72
years. Supratherapeutic INR level was between 3.52 to 26.47 and the average INR was 6.29 + 4.39.
Most causes of supratherapeutic INR were due to disease interactions (46.40%), drug interactions
(44.60%), and hypoalbuminemia (41.10%). The average INR in major bleeding group was statistically
significant higher than the no bleeding group and non-major bleeding group (9.15 + 6.78, 5.16 t 2.14,
and 5.03 + 1.59, respectively (p < 0.0001). The study found that patients with cancer might increase
bleeding risk 30.11 times more than patients without cancer (adjusted OR = 30.11, 95%CI =
2.78-325.72, p=0.005). Patients who had INR 8 or higher were more likely to bleed 8.39 times than
patients who had INR less than 8 (adjusted OR = 8.39, 95%CI = 2.53-27.87, p=0.001), considering
gender and history of bleeding.
In conclusion, the factors affecting bleeding in patients receiving warfarin with supratherapeutic
INR were cancer and INR 8 or greater. Therefore, for patient safety, the occurrence of bleeding should
be closely monitored in patients who have these factors. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
วาร์ฟาริน |
en_US |
dc.subject |
Warfarin |
en_US |
dc.title |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะเลือดออกในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาวาร์ฟารินที่มีค่า ไอเอ็นอาร์สูงเกินช่วงการรักษา ณ โรงพยาบาลตำรวจ |
en_US |
dc.title.alternative |
Factors affecting bleeding in patients receiving warfarin with supratherapeutic INR at Police General Hospital |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.subject.keyword |
ยาวาร์ฟาริน |
en_US |
dc.subject.keyword |
ภาวะเลือดออก |
en_US |