dc.contributor.author | พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์ | |
dc.contributor.author | อัญชลี อวิหิงสานนท์ | |
dc.contributor.author | วรพจน์ ทรัพย์ศิริสวัสดิ์ | |
dc.contributor.author | โอภาส พุทธเจริญ | |
dc.contributor.author | ศัลยวิทย์ จิตต์มิตรภาพ | |
dc.contributor.author | สมบัติ ตรีประเสริฐสุข | |
dc.contributor.author | วิศิษฏ์ ประสิทธิศิริกุล | |
dc.contributor.author | ศุภรัตน์ เข็มนาค | |
dc.contributor.author | สุพรรณี จิรจริยาเวช | |
dc.contributor.author | อำนาจ มะลิทอง | |
dc.contributor.author | จิรายุ วิสูตรานุกูล | |
dc.contributor.author | วรางคณา มั่นสกุล | |
dc.contributor.author | ฐิติรัตน์ ตั้งก่อสกุล | |
dc.contributor.author | ธวัชชัย จริยะเศรษฐพงศ์ | |
dc.contributor.author | วรวรรณ สัมฤทธิ์มโนพร | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2022-11-04T08:30:26Z | |
dc.date.available | 2022-11-04T08:30:26Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81266 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นแบบไปข้างหน้าในผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีร่วมกับการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โดยมีการตรวจสายพันธุ์ของไวรัสตับอักเสบซี ปริมาณไวรัสตับอักเสบซีในเลือด ยีน IL-288 และการเกิดพังผืดในตับด้วยเครื่องไฟโบรสแกน และได้แบ่งระยะของพังผืดในตับได้ดังนี้ ระยะแรก (Metavir F0-F1) เป็นระยะที่มีค่า stiffness น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7.1 kPa ระยะที่ 2 หรือระยะปานกลาง (F2) เป็นระยะที่มีค่า stiffness ระหว่าง 7.2-9.4 kPa ระยะที่ 3 หรือระยะรุนแรง (F3) เป็นระยะที่มีค่า stiffness ระหว่าง 9.5-14 kPa และระยะสุดท้าย (F4) หรือ โรคตับแข็งที่มีค่า stiffness มากกว่า 14 kPa การตรวจประเมินปริมาณไวรัสตับอักเสบซีในเลือดทำโดยวิธี real-time PCR assay (Abbott ค่าต่ำสุดที่ตรวจได้คือ น้อยกว่า 12 IU/ml) มีการตรวจสายพันธุ์ด้วย reverse transcriptase-polymerase chain reaction (RT-PCR) of the 5’UTR และจะถูกวิเคราะห์อย่างละเอียดโดยใช้ไพร์เมอร์เฉพาะสำหรับบริเวณที่เป็น core และ NS5B ลำดับของนิวคลีโอไทด์ของทั้ง 2 บริเวณจะถูกวิเคราะห์เพื่อหาสายพันธุ์ของไวรัสตับอักเสบโดยวิธี phylogenetic analysis จากนั้นก็หาความแตกต่างทางพันธุกรรมที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลำดับเบสบนสายนิวคลิโอไทด์เพียงตำแหน่งเดียวที่ก่อให้เกิดผลที่แตกต่างกันทางกายภาพ (SNPs) ของยีนอินเตอร์ลิวคิน 28 บี (IL-28B gene) โดยใช้เครื่อง TaqMan real-time PCR (ที่ตำแหน่ง rs12979860) การวิเคราะห์ข้อมูล ๆ ต่าง ทำโดย allelic discrimination (AD) software on the ABI-7900HT. ได้ตรวจ anti HCV abในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมด 5797 คนและ 712 คนมี anti HCV Ab positive (12.3%) แต่ถ้าเลือกเฉพาะคนที่ไม่เคยตรวจ (N=5546 ราย) มี 314 รายที่ตรวจพบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีร่วมด้วย ซึ่งคิดเป็น 5.7% และมีผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีร่วมกับการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (HIV/HCVco-infected) จำนวน 4.7 คนเข้าร่วมการศึกษาแบบตรวจ HCV แบบละเอียด ผู้ป่วยรวมทั้งสองกลุ่มส่วนใหญ่เป็นชาย (85.3% และใช้สารเสพติดแบบเข้าเส้น (65.5%) และอายุเฉลี่ยเท่ากับ 41.3 ปี รูปแบบการกระจายตัวของยีนไวรัสตับอักเสบซี (HCV genotype (GT)) มีดังนี้ GT1 43%, GT1 41%, และ GT6 15% ในส่วนของยีนอินเตอร์ลิวคิน 28 ปี พบว่า 53% เป็น major allele (CC) ของตำแหน่ง rs 12979860 โดยรวมพบว่า 94% ของผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีร่วมกับการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและมีค่าเฉลี่ยของ CD4 เท่ากับ 418 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร และ 92% มี HIV-RNA <50 copies/ml ความยืดหยุ่นของตับด้วยเครื่องไฟโบรสแกน พบว่ามีระยะต่าง ๆ ดังนี้ ระยะแรกเท่ากับ 33% ระยะที่ 2 หรือระยะปานกลางเท่ากับ 20% ระยะที่ 3 หรือระยะรุนแรงเท่ากับ 17% และระยะสุดท้ายหรือตับแข็งเท่ากับ 29% จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า ผู้ป่วยคนไทยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีส่วนใหญ่จะมีตัวแปรที่บอกว่าจะมีการตอบสนองต่อการรักษาได้ดีมาก ได้แก่ สายพันธุ์ HCV genotype 3 ยีน IL-28B เป็นชนิด major allele (CC) สำหรับตำแหน่ง rs 12979860 และเมื่อประเมินร่วมกับการตรวจเยื่อพังผืดในตับพบว่า 66% ของผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีมีข้อบ่งชี้ในการรักษาไวรัสตับอักเสบซีเพื่อลดการเกิดตับแข็งและมะเร็งตับ นอกจากนั้นค่า Fib4 score ที่มากกว่า 3.25 อายุ HCV genotype3 duration of HCV เป็นตัวแปรอิสระที่ช่วยทำนายการเกิดโรคตับแข็ง จากการศึกษานี้ผู้ป่วยที่มี liver fibrosis >7.5kPa, HCV genotype 3, ยีน IL-28B เป็นชนิด major allele (CC) สำหรับตำแหน่ง rs 12979860 เป็นกลุ่มที่ควรจะได้รับการรักษาก่อนด้วยยาที่มีในระบบ (Pegylated interferon/ribavirin) เพราะเป็นกลุ่มที่ตอบสนองดีต่อ Pegylated interferon/ribavirin และถ้าไม่รักษาการเกิด liver fibrosis progression จะเกิดได้เร็วใน HCV genotype3 และเมื่อเป็นตับแข็งจะทำให้การรักษายากขึ้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | Chronic hepatitis C (HCV) is now treatable and curable. Without treatment, it can progress to cirrhosis and hepatocellular carcinoma. HCV related liver disease is more aggressive in HIV-co-infection. Although, affordable treatment is yet available, however, there is limited data of HCV burden and HCV related liver disease in this population. We assessed the prevalence of HCV infection in HIV-infected patients from 9 hospitals: Chulalongkorn hospital and HIV-NAT, Thai Red Cross AIDS Research centre, Police hospital, Taksin hospital, Vajira hospital, Bamrasnaradura Institute, Lerdsin hospital, Klang hospital and Noppharat hospital. Then HCV co-infection (HIV/HCV) were enrolled in a prospective cohort study. Liver fibrosis was assessed by elastography (FibroScan). Fibrosis stage was defined as mild (Metavir F0-F1) if stiffness ≤ 7.1 kPa; moderate (F2) if 7.2-9.4 kPa; severe (F3) if 9.5-14 kPa, and cirrhosis (F4) if>14 kPa. HCV RNA, Quantification of HCV RNA was done by a real-time PCR assay (Abbott with lower limit of detection of < 12IU/mL). HCV RNA positive samples based on reverse transcriptase -polymerase chain reaction (RT-PCR) of the 5'UTR were amplified with primer specific for the core and NS5B regions. Nucleotide sequences of both regions were analyzed for the genotype by phylogenetic analysis. DNA sample was extracted from PBMCs or sera. Then SNPs within IL-288 gene were detected by TaqMan real-time PCR (rs12979860). The data were analyzed by allelic discrimination (AD) software on the ABI-7900HT. Totally 5797 HIV-infected patients were tested for antiHCV Ab, 712 subjects (12.3%) were tested positive. However, if only unknown HCV were tested (N=5546), 314 (5.7%) were HCV positive. A total of 407 HIV/HCVco-infectedThai patients were enrolted in prospective cohort of HCV infection (85.3% male, 65.5% IDUs, median age of 41.3 years old). HCV genotype (GT) distribution was as follows: GT1 43%, GT3 42%, GT6 15%. For IL-288, 91% were major allele (CC) for rs 12979860 Overall, 94% of HIV/HCV patients were on ART and their median CD4 count was 418(IQR 266-586) cells/mm³ and 92% had HIV-RNA <50 copies/ml. liver fibrosis was mild in 33%; moderate in 20%; severe in 17% and cirrhosis in 29%. HCV genotype 1 and 3 were the most prevalent in our HIV/HCV coinfection 85% of our patients have favorable IL -288 gene. Moderate liver fibrosis (>F2) are seen in >66%. In multivariate analysis, Fib-4>3.25, aging, duration of HCV and HCV genoype3 were significantly associated with advanced liver fibrosis. This data has important implications for designing strategies to prioritize access to HCV-treatment in Thailand. At present time, only pegylated interferon/ribavirin is a standard of HCV care in Thailand, genotype 3, IL-288 CC gene and fibrosis>7.2KPa should be treated now rather than to wait for the new drugs because genotype 3 is related to faster liver fibrosis and it is poorer response for new HCV drugs. HCV treatment should be offered prior liver cirrhosis developed. | en_US |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2557 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไวรัสตับอักเสบซี | en_US |
dc.subject | ผู้ติดเชื้อเอชไอวี | en_US |
dc.title | การศึกษาธรรมชาติการดำเนินโรคของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี ความสำคัญทางคลินิคปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการรักษาการตอบสนองต่อการรักษา และผลข้างเคียงในผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี | en_US |
dc.title.alternative | Natural history of hepatitis C infection, clinical significances, prognostic factors and treatment outcome/toxicity among Thai HIV infected patients with chronic hepatitis C | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |