dc.contributor.advisor |
Waraporn Chatratichart |
|
dc.contributor.author |
Fan Zhang |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Communication Arts |
|
dc.date.accessioned |
2023-02-03T04:36:17Z |
|
dc.date.available |
2023-02-03T04:36:17Z |
|
dc.date.issued |
2021 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81718 |
|
dc.description |
Thesis (M.A. (Communication Arts))--Chulalongkorn University, 2021 |
|
dc.description.abstract |
This study focuses on cinema as an agent of soft power in promoting Chinese national identity and patriotism. This study used two research methods. First, a qualitative method of narrative analysis was used to examine three new mainstream films, Wolf Warrior 2, Operation Red Sea, and The Battle at Lake Changjin. The narrative analyses found that five types of national identity were identified using ethnic, cultural, and political dimensions: (1) belongingness and identification with the nation-state; (2) a sense of belonging and identification with the political institution; (3) a sense of identification with collectivism; (4) a sense of identification with shared history; and (5) a sense of differentiation from other countries. Moreover, five types of patriotism were identified: (1) love of the nation-state and compatriots; (2) loyalty to the political institution; (3) pride in the nation-state; (4) special concerns for the well-being of the nation-state’s future; and (5) willingness to sacrifice for the well-being of the nation-state and compatriots.
The second research method was summative content analysis, used to investigate the film’s audience reception of national identity and patriotism. Research findings indicate that most messages of national identity and patriotism portrayed in the films were well-received by audiences. Moreover, the study also found that the Chinese government used Chinese mainstream films as a soft power tool to promote values and ideologies and perform better in the domestic sphere. In addition, while wielding soft power, framing and agenda-setting strategies are also used. Meanwhile, the state’s increasing control over social media provides an effective position for the government’s watchdog department to disseminate certain ideologies.
As Kracauer pointed out, “the films of a nation reflect its mentality in a more direct way than any other artistic medium.” An analysis of the transmitter of Chinese ideologies shows the use of specific images depicting Chinese national identity and patriotism, which can help understand Chinese society, social values, and social media scenarios. Moreover, this study supplements studies on the effectiveness of China’s soft power in the domestic sphere, a topic rarely discussed in international relations studies. |
|
dc.description.abstractalternative |
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาภาพยนตร์ในฐานะซอฟท์พาวเวอร์ (Soft Power) ในการส่งเสริมอัตลักษณ์ประจำชาติและความรักชาติของชาวจีนโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย 2 แบบ คือ
(1) ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพผ่านการวิเคราะห์การเล่าเรื่องของภาพยนตร์ในกระแส จำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ Wolf Warrior, Operation Red Sea และ Battle at Lake Changjin ผลการวิเคราะห์การเล่าเรื่อง พบอัตลักษณ์ประจำชาติ 5 ประการที่นำเสนอผ่านมิติทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และการเมือง คือ ความรู้สึกในการเป็นเจ้าของและความรู้สึกผูกพันกับรัฐชาติ ความรู้สึกในการเป็นเจ้าของและความรู้สึกผูกพันกับสถาบันทางการเมือง ความรู้สึกผูกพันกับส่วนรวม ความรู้สึกผูกพันกับประวัติศาสตร์ร่วม และความรู้สึกว่าตนเองแตกต่างกับประเทศอื่น ๆ นอกจากนี้ภาพยนตร์สงครามในกระแสยังได้นำเสนอรูปแบบความรักชาติ 5 ประเภท คือ ความรักชาติและเพื่อนร่วมชาติ ความรู้สึกภักดีต่อสถาบันทางการเมือง ความรู้สึกภาคภูมิใจในรัฐชาติ ความกังวลต่อความอยู่ดีมีสุขและความผาสุกของรัฐชาติในอนาคต และความยินยอมในการเสียสละความอยู่ดีมีสุขของรัฐชาติและเพื่อนร่วมชาติ
(2) การวิเคราะห์เนื้อหาสรุปเพื่อตรวจสอบการรับรู้ของผู้ชมที่มีต่ออัตลักษณ์ประจำชาติและความรักชาติ ผลการวิเคราะห์พบว่าข้อความส่วนใหญ่เกี่ยวกับอัตลักษณ์ประจำชาติและความรักชาติที่ถูกถ่ายทอดในภาพยนตร์ได้รับการรับรู้เป็นอย่างดีจากผู้ชม
งานวิจัยนี้พบว่ารัฐบาลจีนได้ใช้ภาพยนตร์สงครามในกระแสเป็น ซอฟท์พาวเวอร์ (Soft Power) เพื่อส่งเสริมค่านิยมและอุดมคติที่รัฐบาลต้องการสื่อสาร และทำได้ดีในบริบทภายในประเทศจีน
นอกจากนี้ การวิจัยยังพบการใช้กลยุทธ์การวางกรอบ (Framing) และกำหนดวาระข่าวสารของสื่อ (Agenda Setting) ในการสื่อสารของรัฐบาลผ่านภาพยนตร์สงครามในกระแส ในขณะเดียวกัน รัฐบาลก็ยังคงเพิ่มการควบคุมสื่อสังคม เพื่อให้หน่วยงานเฝ้าระวังของรัฐบาลสามารถเผยแพร่อุดมคติดังกล่าวได้ดียิ่งขึ้น
Kracauer กล่าวไว้ว่า "ภาพยนตร์ของประเทศนั้น ๆ สามารถสะท้อนความคิดของคนได้ตรงกว่าสื่อศิลปะแขนงอื่น ๆ" จากการวิเคราะห์ภาพยนตร์ในฐานะสื่อที่ใช้สื่อสารอุดมคติต่าง ๆ ของชาวจีนได้แสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของอัตลักษณ์ประจำชาติและความรักชาติของชาวจีน ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการทำความเข้าใจสังคมจีน ค่านิยมทางสังคมและสถานการณ์ของสื่อสังคมในประเทศจีน และที่สำคัญงานวิจัยนี้ยังเสริมความรู้ด้านประสิทธิภาพของซอฟท์พาวเวอร์ (Soft Power) ในบริบทภายในประเทศ ซึ่งเป็นประเด็นที่ยังไม่ได้ศึกษาอย่างกว้างขวางจากนักวิจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.372 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Social Sciences |
|
dc.title |
Mainstream war films: a soft power tool for china’s promotion of Chinese national identity and patriotism |
|
dc.title.alternative |
ภาพยนตร์สงครามในกระแส : ซอฟท์พาวเวอร์ (Soft Power) ของประเทศจีนในการส่งเสริมอัตลักษณ์ประจำชาติ และความรักชาติของชาวจีน |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Arts (Communication Arts) |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Strategic Communication Management |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2021.372 |
|