dc.contributor.author |
ศรีเลิศ โชติพันธรัตน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-04-10T09:11:24Z |
|
dc.date.available |
2023-04-10T09:11:24Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82000 |
|
dc.description.abstract |
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาการเพิ่มกำลังขยายด้านผลผลิตทางเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมมีการ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องทำให้น้ำบาดาลมีระดับลดต่ำลงในหลายพื้นที่ นอกจากนี้บางพื้นที่พบว่ามีคุณภาพน้ำ บาดาลเสื่อมโทรมลงเนื่องจากการปนเปื้อนจากการใช้สารเคมีเกษตร ดังนั้นวัตถุประสงค์การศึกษาในปีแรกคือ การศึกษาการกระจายตัวและกระบวนการของการปนเปื้อนไนเตรทในชั้นน้ำหินร่วน และในปีที่สองเพื่อประเมิน การกระจายตัวและอธิบายกลไกที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณไนเตรทในชั้นน้ำหินแข็ง (ชั้นน้ำประเภทหินภูเขาไฟ) สำหรับผลการศึกษาในปีที่สองแสดงในรายงานฉบับนี้เป็นหลัก สำหรับข้อมูลลักษณะทางอุทกธรณีวิทยาใน การศึกษาครั้งนี้ได้มาจากการลงพื้นที่สำรวจในภาคสนามและข้อมูลการหยั่งธรณีหลุมเจาะ ในการศึกษานี้ได้ทำการ วิเคราะห์พารามิเตอร์ทางอุทกธรณีเคมีและปริมาณไนเตรตของจำนวนตัวอย่างน้ำบาดาลทั้งสิ้น 42 ตัวอย่าง ใน พื้นที่อำเภอ แก่งคอย จังหวัดสระบุรี ประเทศไทย ซึ่งทำการศึกษาสองฤดูกาลทั้งในฤดูร้อนและฤดูฝน โดยสมบัติ ทางอุทกธรณีเคมีและค่าไอโซโทปเสถียรทช่วยในการบ่งชี้แหล่งกำเนิดของไนเตรต รวมถึงกระบวนการที่มีผลต่อ ปริมาณไนเตรตในน้ำบาดาล จากการศึกษาพบว่าพื้นที่ศึกษามีทิศทางการไหลของน้ำบาดาลจากทิศตะวันออกไปสู่ทิศตะวันตก ชนิด ของน้ำบาดาลส่วนใหญ่เป็นแคลเซียม โซเดียม ไบคาร์บอเนต (Ca-Na-HCO3) สำหรับปริมาณไนเตรตพบว่ามี ปริมาณสูงในฤดูร้อนเนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นช่วยเร่งให้เกิดกิจกรรมทางชีวภาพ โดยพบปริมาณไนเตรตสูงสุดใน จุดตรวจวัดที่สองทั้งในฤดูร้อนและฤดูฝน ซึ่งมีแหล่งกำเนิดมาจากการสลายตัวของแร่และปุ๋ยในดินจากนาข้าว บริเวณใกล้เคียง นอกจากนี้การติดตั้งบ่อสูบโยกมือที่ไม่สมบูรณ์ทำให้มลสารจากน้ำผิวดินรั่วไหลลงสู่ชั้นน้ำบาดาล ทั้งนี้กระบวนการหนึ่งที่ช่วยให้ปริมาณไนเตรตในพื้นที่ลดลงคือ กระบวนการการเจือจาง ซึ่งมักพบในพื้นที่ทางด้าน ทิศตะวันออกของพื้นที่ศึกษา ในทางตรงกันข้ามกระบวนการไนตริฟิเคชั่นถือเป็นกระบวนการที่สำคัญอย่างยิ่งใน การเพิ่มปริมาณไนเตรต ดังนั้นการวิเคราะห์ทางอุทกธรณีเคมีและไอโซโทปเสถียรจึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้ เข้าใจต่อแหล่งกำเนิดและกระบวนการที่มีผลต่อแปรปรวนของปริมาณไนเตรต นอกจากนี้การใช้สถิติการวิเคราะห์ พหุตัวแปรทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างธาตุแคลเซียม โซเดียม ไบคาร์บอเนตซึ่งเป็นตัวแทนของน้ำบาดาล ในธรรมชาติที่ไม่มีการปนเปื้อน และกลุ่มของธาตุแมกนีเซียม คลอไรด์ โพแทสเซียม แอมโมเนียม ไนโตรเจนได ออกไซด์ เป็นตัวแทนของธาตุที่เกิดจากการปนเปื้อนในน้ำบาดาลโดยกิจกรรมของมนุษย์ สำหรับการศึกษาวิจัย ต่อไปนั้นเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ชุมชนของแบคทีเรียในน้ำบาดาลที่ปนเปื้อนด้วยไนเตรตซึ่งช่วยให้การเลือก วิธีการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนด้วยไนเตรตในน้ำบาดาลได้อย่างเหมาะสม |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Agriculture production and industry have grown continuously for many years, contributing to insufficient surface water supply. As a result, groundwater usage is increasing, leading to decreases in groundwater levels in many areas. In addition, some areas experience degraded groundwater quality due to contamination from agrochemical applications in agricultural areas. The aims of this research project in the 1st year are mainly in distribution and mechanisms of nitrate contamination in the unconsolidated aquifer. In the 2nd year, the aims further investigate the distribution of nitrate in groundwater and explain the mechanisms occurring in the consolidated aquifer (e.g., volcanic aquifer). The results in the 2nd year are mainly described in this report as follows. The hydrogeological characteristics were investigated in the field and from well logs. The hydrogeochemical parameters, including NO₃ -, in 42 groundwater samples were taken from Kaeng Khoi District, Saraburi Province, Thailand in rainy and dry seasons, and were used the hydrogeochemical properties and stable isotopes for identifying the sources of NO₃ -, including the processes affecting NO₃ - contamination in groundwater. It was found that the dominant groundwater flow direction is from east to west. The groundwater type mainly is Ca-Na-HCO₃. The NO₃ - concentration is higher in the summer because higher temperatures help to accelerate biological activity. Station no.2 was found to have the highest NO₃ - concentration in both seasons. The main sources of NO₃ - are the dissolution of minerals and fertilizer in soils because the area is near paddy cultivation. Moreover, an imperfect installation around some hand pump wells would allow contaminants in surface water to easily reach into the groundwater. One process that reduces NO₃ - concentrations in the study area is dilution, which is dominant in the east of area. On the other hand, nitrification is a key process producing an increase of NO₃ - concentration. Thus, the hydrogeochemical and stable isotope analyses are an essential tool for understanding the sources and processes influencing any deviation of NO₃ - concentration. The multivariate statistical analysis showed that the relationship between Ca²⁺, Na+ and HCO₃ - represents uncontaminated natural groundwater and the relationship of Mg²⁺, Cl-, K+, NH₄ + and NO₂ - , illustrates the anthropogenic sources contaminating the groundwater. For further study, the analysis the bacterial community in NO₃ - contaminated groundwater, which is necessary for selecting the most appropriate remediation scheme for NO₃ --contaminated groundwater. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดยเงินอุดหนุนการวิจัยจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ปีงบประมาณ 2561 |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ไอโซโทป |
en_US |
dc.subject |
น้ำบาดาล -- ปริมาณไนเตรท |
en_US |
dc.subject |
เคมีของน้ำ |
en_US |
dc.subject |
Isotopes |
en_US |
dc.subject |
Groundwater -- Nitrate content |
en_US |
dc.subject |
Water chemistry |
en_US |
dc.title |
โครงการการจำแนกแหล่งกำเนิดไนเตรทในน้ำบาดาลโดยใช้ลักษณะข้อมูลอุทกเคมีร่วมกับเทคนิคไอโซโทปเสถียรในพื้นที่เกษตรกรรมหนาแน่น ประเทศไทย (ปีที่ 2) : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Identification of nitrate sources in groundwater using integration of hydrogeochemical characteristic with stable isotope techniques in intensively agricultural areas, Thailand (The Second Year) |
en_US |
dc.type |
Technical Report |
en_US |