dc.contributor.author |
ณภัทร ชมธนานันท์ |
|
dc.contributor.author |
จินตนา สรายุทธพิทักษ์ |
|
dc.contributor.author |
วชิรวิทย์ ช้างแก้ว |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-30T09:24:17Z |
|
dc.date.available |
2023-05-30T09:24:17Z |
|
dc.date.issued |
2565-01 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 14,1 (ม.ค. - เม.ย. 2565) หน้า 225 - 236 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2697 5793 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82136 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนความฉลาดรู้ทางสุขภาพเรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์ก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลองและของกลุ่มควบคุมและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนความฉลาดรู้ทางสุขภาพเรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์หลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมวิธีด าเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวน 80 คนได้จากการสุ่มอย่างง่ายแบ่งเป็นกลุ่มทดลองจ านวน 40 คน ได้รับกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” เรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การสะท้อนคิด และกลุ่มควบคุมจ านวน 40 คนได้รับกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” เรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์โดยวิธีปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” เรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การสะท้อนคิดจ านวน 8 แผนกิจกรรม มีค่าดัชนีความสอดคล้องรวม 0.95 และแบบประเมินความฉลาดรู้ทางสุขภาพเรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส ์ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง0.94 ค่าความเที่ยง 0.87 ระยะเวลาในการวิจัย 8 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนด้วยค่าที ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความฉลาดรู้ทางสุขภาพเรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์หลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05และ ค่าเฉลี่ยคะแนนความฉลาดรู้ทางสุขภาพเรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์หลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปผลการวิจัย การจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” เรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การสะท้อนคิดส่งผลให้ความฉลาดรู้ทางสุขภาพเรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์ของนักเรียนมัธยมศึกษาสูงกว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Purposes: To compare mean scores of healthliteracyonelectroniccigarette before and after implementation of theexperimental groupand the control group, and to compare mean scores of healthliteracyonelectroniccigarette between theexperimental group and thecontrol group. Methods:The subjects were 80eighthgrade students, divided equally into 40 students forthe experimental group who were assigned using the “moderateclass,moreknowledge” activityon healthliteracyonelectronic cigarette usingreflectivethinking,while 40 students of control group were assigned to use the conventional activity. The research instruments consisted of eight activitiesusing reflective thinking with IOC 0.95,and healthliteracyonelectroniccigarette test with IOC 0.94,reliabilities were 0.87. The data wereanalyzed using mean, standard deviation and t-test.Result:The research findings were as follows: The mean scores of the healthliteracyonelectroniccigarette of the experimental group students after experiment were significantly higher than that before the experiment at 0.05 level, and the mean scores of the healthliteracyonelectroniccigarette of the experimental group students after experiment were significantly higher thanthat in the control group at 0.05 level. Conclusion:Using the “moderateclass,moreknowledge” activityon healthliteracyonelectronic cigarette withreflectivethinking effect on healthliteracyonelectronic of secondaryschool studentswasmore effectivethan the conventional activity. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ |
en_US |
dc.relation.uri |
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/250860 |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14456/educu.2021.1 |
|
dc.rights |
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ |
en_US |
dc.subject |
บุหรี่ |
en_US |
dc.subject |
ยาสูบ |
en_US |
dc.subject |
สุขศึกษา (มัธยมศึกษา) |
en_US |
dc.title |
ผลการใช้กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” โดยใช้การสะท้อนคิดที่มีต่อความฉลาดรู้ทางสุขภาพเรื่องยาสูบอิเล็กทรอนิกส์ของนักเรียนมัธยมศึกษา |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of “moderate class more knowledge” activity using reflective thinking on health literacy on electronic cigarette of secondary school students |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |