dc.contributor.author |
ศิริวิไล ธีระโรจนารัตน์ |
|
dc.contributor.author |
อารีรัตน์ แพทย์นุเคราะห์ |
|
dc.contributor.author |
ศุภโชค สุรวิด |
|
dc.contributor.author |
สิรีธร ศรีจิรารัตน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-28T08:41:07Z |
|
dc.date.available |
2023-06-28T08:41:07Z |
|
dc.date.issued |
2565-01 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารอักษรศาสตร์ 51,1 (ม.ค.-มิ.ย. 2565) หน้า 111-133 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2586-9736 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82184 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการทำกิจกรรมประจำวันของชาวกรุงเทพฯ และปริมณฑลในช่วงก่อนและระหว่างการระบาดของ COVID-19 การวิจัยใช้วิธีการสำรวจผ่านแบบสอบถามออนไลน์ โดยใช้แอปพลิเคชันไลน์(Line) และกูเกิลชีต (Google sheet)จากกลุ่มตัวอย่างประชากรในพื้นที่ศึกษาจำนวน 377 คน จากนั้นวิเคราะห์และอภิปรายผลตามหลักการและแนวคิดทางภูมิศาสตร์ ผลการศึกษาและอภิปรายสรุปได้ว่า1)การทำกิจกรรมประจำวันของชาวกรุงเทพฯ และปริมณฑลช่วงก่อนและระหว่างการระบาดมีความแตกต่างกันในระหว่างการระบาดความถี่การเดินทางเพื่อทำกิจกรรมประจำวันในด้านต่าง ๆ ลดลง ได้แก่ การเดินทางไปทำงานหรือเรียน การเดินทางไปจับจ่ายซื้อของหรือใช้บริการ การเดินทางเพื่อสังสรรค์/นันทนาการ รวมถึงการลดลงของชั่วโมงเฉลี่ยในการทำกิจกรรมนอกบ้านและการใช้บริการขนส่งสาธารณะ 2) การศึกษาการทำกิจกรรมประจำวันของชาวกรุงเทพฯ และปริมณฑล สามารถประยุกต์แนวคิดทฤษฎีภูมิศาสตร์เวลา (Time-Geography theory)มาใช้ได้ก่อนการระบาดของ COVID-19ใช้แบบจำลองปริซึมพื้นที่-เวลา (Space-time prism) ส่วนในระหว่างการระบาดของ COVID-19 ใช้แบบจำลองปริซึมพื้นที่-เวลาเสมือน (Virtual time-space) โดยนำ‘เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร’(Information and communications technology [ICT]) มาเป็นตัวแปรแทน‘ระยะทาง’ในแบบจำลองเดิม3) หลังการระบาดของ COVID-19 ทัศนคติของชาวเมืองและรัฐบาลในชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ซึ่งคุ้นชินกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)มีแนวโน้มที่จะตัดสินใจพัฒนากรุงเทพฯ และปริมณฑลให้มีความเป็นอัจฉริยะในด้านต่าง ๆ มากขึ้น |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This research compares the daily activities of the residents of Bangkok and vicinity in the periods before and during the COVID-19 outbreak. Line App (Line) and Google Sheets were used to deliver an online questionnaire to 377 respondents. Analysis and discussion of results were carried out according to principles and concepts of geography. Results showed that 1) the daily activities of Bangkok residents changed during the COVID-19 outbreak. There was a decrease in the frequency of travel to perform variousdaily activities such as commuting to work or school, traveling for shopping and services, and traveling for social or recreational activities. There was also a decrease in the average hours spent outdoors and on public transport. 2) The daily activities of urban residents can be interpreted using the Time-Geography theory. Before the COVID-19 outbreak, a space-time prism model can be used, while during the COVID-19 outbreak a virtual time-space model can be used, with ‘information and communications technology’ [ICT] replacing the ‘distance’ variable in the original model. 3) After the COVID-19 outbreak, the changed attitude towards the New Normal of urban residents and the government, who have become familiar with the use of information and communicationstechnology (ICT), is likely to lead to developments in Bangkok and vicinity, making the area smarter in various aspects. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
กองบรรณาธิการวารสารอักษรศาสตร์ |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jletters/article/view/257811 |
|
dc.rights |
กองบรรณาธิการวารสารอักษรศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ภูมิศาสตร์เมือง |
en_US |
dc.subject |
การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- |
en_US |
dc.subject |
นิวนอร์มัล |
en_US |
dc.title |
“COVID-19” ในมุมมองทางภูมิศาสตร์ : กรณีศึกษาการทำกิจกรรมประจำวัน ของชาวกรุงเทพมหานครและปริมณฑล |
en_US |
dc.title.alternative |
“COVID-19” from a geographical perspective : A case study of the daily activities of the residents of Bangkok and vicinity |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |