DSpace Repository

การสร้างรัฐเสนานุภาพของไทยจากรัฐประหาร 2490 ถึงรัฐประหาร 2557

Show simple item record

dc.contributor.author พวงทอง ภวัครพันธุ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-06-29T07:34:19Z
dc.date.available 2023-06-29T07:34:19Z
dc.date.issued 2565-01
dc.identifier.citation วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 52,1 (เม.ย.-มิ.ย. 2565) หน้า 1-30 en_US
dc.identifier.issn 0125-0590
dc.identifier.uri https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82190
dc.description.abstract บทความนี้ต้องการวิเคราะห์อํานาจทางการเมืองของทหารไทยนับตั้งแต่การรัฐประหารในปีพ.ศ. 2490 จนถึง 2557 ด้วยมโนทัศน์รัฐเสนานุภาพ (praetorianism) โดยพิจารณาการพยายามสถาปนาอํานาจของทหารผ่านระบบกฎหมายการใช้อํานาจบริหารประเทศและอํานาจเหนือกิจการความมั่นคงภายในโดยอํานาจของกองทัพในแต่ละยุคสมัยมีระดับที่แตกต่างกันการปกป้องสถาบันกษัตริย์มีความสําคัญสูงสุดสําหรับรัฐเสนานุภาพไทยทั้งในแง่ที่ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข” เป็นทั้งอุดมการณ์พันธกิจและเป็นแหล่งอ้างอิงความชอบธรรมของกองทัพการสร้างรัฐเสนานุภาพไทยเกิดจากความร่วมมือกันระหว่างกองทัพกับพันธมิตรในเครือข่ายรอยัลลิสต์รัฐเสนานุภาพไทยสามารถผลักดันนโยบายการพัฒนาไปในทิศทางที่ต้องการขยายอํานาจหน้าที่ของทหารในปัญหาความมั่นคงภายในออกไปอย่างกว้างขวางจํากัดอํานาจพลเรือนเหนือกิจการภายในของกองทัพพร้อมๆกับทําให้ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาอ่อนแอลงประการสําคัญนับตั้งแต่การรัฐประหารพ.ศ. 2490กลไกอํานาจของกองทัพได้ถูกสถาปนาลงสู่โครงสร้างส่วนบนของอํานาจทําให้กองทัพสามารถบ่อนเซาะเสถียรภาพของรัฐบาลจากการเลือกตั้งได้อย่างง่ายดายดังเช่นที่เกิดขึ้นกับรัฐบาลพลเรือนหลังการรัฐประหารในปีพ.ศ. 2549 en_US
dc.description.abstractalternative This paper employs the concept of praetorianism to analyze the Thai military’ s political power since the 1947 coup and up to the 2014 one. Three aspects are under consideration: the attempts to institutionalize the military’ s power via the legal system, its administrative power, and its power over internal security affairs. The power of the Thai praetorian state in each period varied. However, defending the monarchy became of paramount importance in its ideology, mission, and source of legitimacy to interfere in politics. The Thai praetorian state was built upon cooperation among the armed forces and its allies in the royalist network. It has successfully led the country in the directions it desired, greatly expanding its power over internal security affairs, limiting control of civilians over the military and weakening parliamentary politics. Significantly, since the 1947 coup, the power of the military became entrenched in the infrastructure of power. Subsequently, the military was able to destabilize elected governments easily. Such was a real challenge to elected governments since the 2006 coup. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri https://so08.tci-thaijo.org/index.php/ssjpolsci/article/view/665
dc.rights วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject รัฐประหาร en_US
dc.subject รัฐประหาร -- ไทย en_US
dc.subject การทหาร en_US
dc.title การสร้างรัฐเสนานุภาพของไทยจากรัฐประหาร 2490 ถึงรัฐประหาร 2557 en_US
dc.title.alternative The Making of Thailand’s Praetorian State from the 1947 Coup to the 2014 Coup** en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Thai Journal Article [90]
    บทความวารสารภาษาไทยจากฐานข้อมูลออนไลน์ Free Open Access

Show simple item record