dc.contributor.author |
สิริวรรณ กิตติเนาวรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
นันทนา จิรธรรมนุกุล |
|
dc.contributor.author |
นริศรา กุลปรีชานันท์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.date.accessioned |
2008-10-16T02:56:11Z |
|
dc.date.available |
2008-10-16T02:56:11Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8302 |
|
dc.description.abstract |
โครงการวิจัยนี้เป็นการนำมอนต์มอริลโลไนต์มาทำการดัดแปรด้วยปฏิกิริยาการแลกเปลี่ยนประจุบวก กับสารทนให้นุ่มชนิดประจุบวก Tego 28 (Di-Palm carboxyethyl hydroxyethyl methyl ammonium methosulfate) พบว่า สารทำให้นุ่มชนิดประจุบวก Tego 28 สามารถแยกระยะห่างระหว่างชั้นของอะลูมิเนียมซิลิเกตในมอนต์มอริลโลไนต์ได้ ทำให้ได้ออร์กาโนเคลย์ ที่สามารถนำไปผสมในสารตกแต่งทำให้นุ่มได้ ในโครงการวิจัยได้ทำการเตรียมสารตกแต่งทำให้นุ่ม 3 ชนิด ประกอบด้วย สารทำให้นุ่มชนิดที่เป็นประจุบวก Tego 28 และชนิดที่ไม่มีประจุของ Lustrex (High-melt polyethylene emulsion) และของ Silastol (Silicone elastomer) แล้วนำสารตกแต่งสำเร็จที่เตรียมขึ้นมาตกแต่งลงบนผ้าฝ้ายโดยวิธีจุ่มอัด หลังจากนั้นนำผ้าฝ้ายที่ผ่านการตกแต่งสำเร็จไปทดสอบสมบัติต่างๆ ประกอบด้วย สมบัติการหน่วงไฟด้วยการทดสอบสมบัติการติดไฟและเสถียรภาพทางความร้อน ความขาว ความแข็งกระด้าง ความแข็งแรงต่อการฉีกขาด จากผลการศึกษาพบว่ามีเพียงผ้าที่ตกแต่งด้วยสารทำให้นุ่มชนิดประจุบวก Tego 28 ที่ผสมมอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปรแสดงสมบัติการหน่วงไฟที่ดีขึ้นเมื่อเติมปริมาณมอนต์มอริลโลไนต์ที่ดัดแปรเพิ่มขึ้น และสมบัติความกระด้างของผ้ามีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณมอนมอริลโลไนต์ดัดแปรที่เติมเข้าไปในสูตรของสารตกแต่งทำให้นุ่มเพิ่มขึ้นแต่ไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ แต่หลังจากการเติมปริมาณมอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปรเพิ่มขึ้นมาเป็น 10 และ 15 เปอร์เซ็นต์ ความแข็งกระด้างของผ้าลดลงอย่างมาก และความขาวของผ้าฝ้ายจะลดลงมากขึ้นเมื่อปริมาณมอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปรที่เติมในสูตรสารตกแต่งทำให้นุ่มมีปริมาณที่มากขึ้นเช่นกัน ส่วนสมบัติด้านความแข็งแรงต่อการฉีกขาดไม่มีผลกระทบมากนักซึ่งจะมีค่าใกล้เคียงกับผ้าฝ้ายที่ตกแต่งด้วยสารทำให้นุ่ม Tego 28 เพียงอย่างเดียว สำหรับผ้าที่ตกแต่งด้วยสารทำให้นุ่มที่ไม่มีประจุทั้ง 2 ชนิด ที่นำมาผสมกับมอนต์มอริลโลไนต์ดัดแปรไม่แสดงสมบัติการหน่วงไฟที่ดีขึ้นแต่อย่างไร และสมบัติทางด้านความกระด้างและความแข็งแรงต่อการฉีกขาดไม่มีผลกระทบมากนัก ส่วนความขาวของผ้าฝ้ายจะลดลงอย่างชัดเจนเมื่อใช้สารตกแต่งทำให้นุ่มที่ไม่มีประจุของ Silastol |
en |
dc.description.abstractalternative |
In this research, montmorillonite was prepared by cationic exchange with cationic softener of Tego 28 (Di-Palm carboxyethyl hydroxyethyl methyl ammonium methosulfate). The XRD results indicated that an intercalation was occurred in the modified montmorillonite. After that, the softness finishing solutions were prepared by using the modified montmorillonite mixed with either cationic or nonionic softener and treated on the cotton fabrics. The finished fabrics and untreated fabrics were tested for instance flammability, thermal stability, whiteness, stiffness and tear strength. The tested results indicated that only the finished fabrics treated with cationic softener of Tego 28 mixed with the modified montmorillonite had the thermal stability and flammability improved when the modified montmorillonite added in the finishing solution increased. Stiffness property of the finished fabrics increased gradually when the amount of modified montmorillinonite was added less than 5%. But the stiffness property of the finished fabrics decreased immediately when the modified montmorillonite added in the finishing solution increased to 10 and 15%. The whiteness of the finished fabrics decreased when the amount of modified montmorillonite in the finishing solution increased. Tear strength of the finished fabrics was comparative with that of the fabric treated with cationic softener Tego 28 only. The fabrics treated with the mixture of the modified montmorillonite and either nonionic softener of Lustrex (High-melt polyethylene emulsion) or of Silastol (Silicone elastomer) did not have a better result of flame retardancy. The other properties of stiffness and tear strength of the finished fabrics did not much affect by adding the modified montmorillonite in the nonionic softener finishing. Only the whiteness of the finished fabrics treated with Silastol or its mixture with the modified montmorillonite decreased obviously. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช |
en |
dc.format.extent |
5421487 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
มอนต์มอริลโลไนต์ |
|
dc.subject |
ผ้าฝ้าย |
|
dc.subject |
สารหน่วงไฟ |
|
dc.title |
การดัดแปรดินมอนต์มอริลโลไนต์เพื่อใช้เป็นสารหน่วงไฟในผ้าฝ้าย : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Modified montmorillonite for using as flame retardant for cotton |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ksiriwan@sc.chula.ac.th |
|
dc.email.author |
jnantana@sc.chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|