dc.contributor.author |
กฤษพร อยู่สวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา |
|
dc.contributor.author |
ธีรศักดิ์ ศรีสุรกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-01T03:17:46Z |
|
dc.date.available |
2023-09-01T03:17:46Z |
|
dc.date.issued |
2565-01 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 24,1 (ม.ค.-มี.ค. 2565) หน้า 76-87 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2586-9345 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83501 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของนักเรียนประถมศึกษากับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของนักเรียนประถมศึกษา โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 2,990 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามปัจจัยด้านโรงเรียน แบบสอบถามปัจจัยด้านนักเรียน แบบสอบถามปัจจัยด้านครอบครัว และแบบสอบถามการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.22 - 0.69 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุด้วยโปรแกรมลิสเรล ผลการวิจัย พบว่า 1) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตของนักเรียนประถมศึกษา มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (gif.latex?\chi&space;^{2} = 57.56, df = 44, p = .08, GFI = 1.00, AGFI = 0.99, CFI = 1.00, RMSEA = 0.01, SRMR = 0.00) และ 2) การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตได้รับอิทธิพลทางตรงจากปัจจัยด้านนักเรียนสูงสุด รองลงมา คือ ปัจจัยด้านโรงเรียน และปัจจัยด้านครอบครัว ตามลำดับ โดยทั้งสามปัจจัยสามารถร่วมกันอธิบายการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตได้ร้อยละ 72.00 |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research were: 1) to examine the congruence between a causal relationship model of factors affecting lifelong learners attributes of primary students with the empirical data, and 2) to study
the inluence of a causal relationship model of factors affecting lifelong learners attributes of primary students. The sample of this research was two thousand nine hundred ninety of primary students at Office of the Basic Education Commission in Bangkok by simple random sampling. The research instruments were comprised of school factor questionnaire, student factor questionnaire, family factor questionnaire and lifelong learner questionnaire with discrimination ranging from 0.22-0.69 and the validity coefficient to 0.95. The data were analyzed by confirmatory factor analysis, and analyzed causal factors affecting by LISREL program. Research results were as follows: 1) The causal relationship model of factors affecting lifelong learners attributes of primary students was congruent with empirical data. The data analysis revealed the validation of fitted model yielded a Chi-square of 57.56, p-value = 0.08, df = 44, GFI = 1.00, AGFI = 0.99, CFI = 1.00, RMSEA = 0.01 and SRMR = 0.00). 2) The causal factor maximum directly influenced to the lifelong learners attributes was student factor, and the next were school factor and family factor respectively. All three of these factors jointly can explain 72.00% of lifelong learners attributes. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/241336 |
|
dc.title |
การศึกษาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต ของนักเรียนประถมศึกษา |
en_US |
dc.title.alternative |
A study of a causal relationship model of factors affecting lifelong learners attributes of primary students |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |
dc.subject.keyword |
การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต |
en_US |
dc.subject.keyword |
โมเดลเชิงสาเหตุ นักเรียนประถมศึกษา |
en_US |