dc.contributor.author |
ญาณิกา ลุนราศรี |
|
dc.contributor.author |
วรพิชชา เวชวิริยกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-01T04:02:39Z |
|
dc.date.available |
2023-09-01T04:02:39Z |
|
dc.date.issued |
2565-04 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 24,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2565) หน้า 96-108 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2586-9345 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83503 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความสามารถในการปรับตัวทางด้านอาชีพ และเพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลความสามารถในการปรับตัวทางด้านอาชีพที่แบ่งตามเพศ กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจำนวน 330 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบวัดความสามารถในการปรับตัวทางด้านอาชีพฉบับสั้น ตรวจสอบคุณภาพโดยการวิเคราะห์ค่าความเที่ยง ค่าดัชนีอำนาจจำแนกรายข้อ ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์โดยใช้โปรแกรม SPSS และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและวิเคราะห์โมเดลสมการพหุ ด้วยโปรแกรม LISREL 8.72 ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้
1. ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคโดยรวมทั้งฉบับเท่ากับ .90 รายองค์ประกอบมีค่าอยู่ระหว่าง .74 ถึง .81
2. ค่าดัชนีอำนาจจำแนกมีค่าอยู่ระหว่าง .55 ถึง .69
3. การวิเคราะห์ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์พบว่า มีความสัมพันธ์กับแบบวัดมโนทัศน์การปรับตัวทางอาชีพของนักเรียนในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r= .66)
4. การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพบว่า โมเดลความสามารถในการปรับตัวทางด้านอาชีพมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า gif.latex?\chi&space;^{2} = 57.79, df = 45, p=0.095, GFI=0.972, AGFI=0.951, RMR=0.016 และ RMSEA=0.029 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบของทุกตัวแปรสังเกตได้และองค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
5. การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลความสามารถในการปรับตัวทางด้านอาชีพ พบว่า รูปแบบโมเดลและพารามิเตอร์ของโมเดลมีค่าไม่แปรเปลี่ยนระหว่างนิสิตเพศชายและนิสิตเพศหญิง |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of the study were to investigate the psychometric properties of the Career Adapt-Abilities Scale-short form (CAAS-SF) and to examine the measurement invariance of the career adapt abilities model across gender. The sample consisted of 330 undergraduate students at the Faculty of Education, Chulalongkorn University. The instrument was the Career Adapt-Abilities Scale-short form. Internal consistency reliability, item discrimination, and criterion-related validity were calculated using SPSS. Confirmatory factor analysis and multi-group structural equation modeling were analyzed using LISREL 8.72. The research findings revealed:
1. The Cronbach’s alpha coefficient of the full scale was .90 and the reliability of the subscales were ranged from .74 to .81.
2. The item discrimination values ranged from .55 to .69.
3. The result from criterion-related validity found the moderate level of correlation with Student Career Construction Inventory with statistical significance at .01 (r= .66).
4. Confirmatory factor analysis showed that the career adapt abilities model fit the empirical data very well: gif.latex?\chi&space;^{2} = 57.79, df = 45, p=0.095, GFI=0.972, AGFI=0.951, RMR=0.016, and RMSEA=0.029. All factor loadings were statistically significant at .01.
5.The measurement invariance of the career adapt abilities model showed that there was configural and parameter invariance between male students and female students. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/218258 |
|
dc.rights |
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
en_US |
dc.title |
การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความสามารถในการปรับตัวทางด้านอาชีพฉบับสั้น สำหรับนิสิตครู |
en_US |
dc.title.alternative |
Validation of the career adapt-abilities scale- short form for preservice teachers |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |