dc.contributor.author |
ชัยยุทธ สุขศรี |
|
dc.contributor.author |
สุจริต คูณธนกุลวงศ์ |
|
dc.contributor.author |
ทวนทัน กิจไพศาลสกุล |
|
dc.contributor.author |
กิตติ ลิ่มสกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-21T08:58:56Z |
|
dc.date.available |
2023-09-21T08:58:56Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83540 |
|
dc.description.abstract |
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์อันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีบทบาทสำคัญต่อการแก้ไขบรรเทาวิกฤตการณ์น้ำแล้ง-น้ำท่วมในลุ่มน้ำป่าสักและลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง จึงทำให้โครงการอยู่ในความสนใจเป็นพิเศษจากประชาชนทั่วไป เพื่อให้การดำเนินงานของโครงการมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด จึงเกิดการศึกษาโครงการาประเมินผลโครงการ เพื่อให้ทราบประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด จึงเกิดการศึกษาโครงการประเมินผลโครงการ เพื่อให้ทราบถึงผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามวัตถุประสงค์ ปัญหาอุปสรรค และผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงจากการดำเนินโครงการ และนำไปเป็นข้อมูลประกอบในการพิจารณาปรับปรุงโครงการในระยะต่อไป โครงการประเมินผลโครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ด้านประสิทธิผลการจัดการน้ำผิวดินและผลกระทบต่อน้ำใต้ดิน ศึกษาในบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำป่าสัก และลุ่มเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกตอนล่างตั้งแต่เริ่มก่อสร้างเขื่อนจนถึงปัจจุบัน และคาดการณ์สภาพอนาคตประมาณ 20 ปีข้างหน้า โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ 1. ประเมินประสิทธิผล และแนวทางการบริหารจัดการของโครงการ ตามวัตถุประสงค์ที่ระไว้ในรายงานการศึกษาความเหมาะสมโครงการ 2. ประเมินผลกระทบน้ำใต้ดิน เนื่องจากการพัฒนา (ก่อสร้าง) โครงการ 3. เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการน้ำตามวัตถุประสงค์ของโครงการการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินผล ครอบคลุมหัวข้อ ดังนี้ 1. แหล่งน้ำผิวดิน การบรรเทาอุทกภัย ระบบโทรมาตร 2. การชลประทาน การจัดสรรน้ำ และการบริหารอ่างเก็บน้ำ 3. แหล่งน้ำใต้ดิน 4. การใช้น้ำ และความต้องการใช้น้ำ ผลการดำเนินการได้ศึกษาวิเคราะห์และพิจารณาแนวทางปรับปรุงการบริหารโครงการภายใต้กรอบบริหารจัดการน้ำที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน โดยพิจารณาเน้นเพิ่มงานศึกษาเพื่อพัฒนาเครื่องมือการวิเคราะห์และนำผลการวิจัยที่ได้มาสรุปใช้ในการจัดสรรน้ำต่อไป สำหรับองค์ประกอบของข้อเสนอปรับปรุงการบริหารจัดการน้ำของโครงการ ประกอบด้วย 1) การพัฒนาระบบการประเมินความต้องการใช้น้ำ 2) การปรับปรุงเทคนิคการทำนายปริมาณน้ำท่าไหลเข้าอ่างเก็บน้ำ 3) การพัฒนาเกณฑ์ควบคุมการเก็บกักและการปล่อยน้ำของอ่างเก็บน้ำ 4) การศึกษาโอกาสการใช้น้ำร่วมระหว่างผิวดินและน้ำใต้ดิน 5) การกำหนด การจัดลำดับความสำคัญ และแนวทางการจัดสรรน้ำ 6) ข้อเสนอแนะการปรับปรุงด้านการเกษตรในพื้นที่ชลประทาน 7) นวัตกรรมใหม่ในการบริหารจัดการน้ำในอนาคต |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The Pasak Jolasid Dam Project, which is the project initiated by His Majesty the King, has a major role in mitigating floods and droughts in both the Pasak and the Lower Chao Phraya river basins. To enable the Project to operate in such a way to obtain optimum efficiency and effectiveness, “the Assessment of Pask Jolasid Dam Project” was initiated with the objectives to monitor the actual operation in accordance with various objectives, to identify difficulties and impacts as well as to compile information necessary for the improvement of the Project’s operation. This Research Project which covers the areas in the Pasak and the lower Chao Phraya, from the periods at the starting of the dam construction up to the present and forecast into the future for the next 20 years, and with the following objectives: 1. To evaluate the effectiveness and the operation and management of the Project in accordance with all objectives as stated in the Project Feasibility Report; 2. To evaluate the impact(s) upon groundwater due to the development of the Project; and 3. To provide suggestions on ways and means to improve the Project’s water management in accordance with the Project’s objectives. The compilations and the analyses comprise of the following topics: 1. Surface water, flood mitigation, tele-metering system 2. Irrigation, water allocation and reservoir operation/management 3. Groundwater resources 4. Water utilization and water demand. The Study which analyzed and considered various alternatives for improvement of water management under existing/current situation and further elaboration on studies and researches to develop the analytical tools and to incorporate the outputs for water allocation. The conclusion and suggestions for improving the project’s management comprise of the followings: 1. The system development of the water demand assessment 2. The improvement of inflow into the reservoir forecasting technique 3. The operation rule curves of the reservoir 4. The conjunctive uses among surface and subsurface water 5. The prioritization and water allocation guideline 6. Suggestion on the improvement of agriculture in the irrigation areas 7. Innovative(s) in the future water management. |
en_US |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
น้ำใต้ดิน |
en_US |
dc.subject |
การจัดการน้ำ |
en_US |
dc.subject |
อุทกภัย |
en_US |
dc.subject |
น้ำบาดาล |
en_US |
dc.subject |
Groundwater |
en_US |
dc.subject |
Floods |
en_US |
dc.title |
ประสิทธิผลการจัดการน้ำผิวดินและผลกระทบต่อน้ำใต้ดิน |
en_US |
dc.title.alternative |
รายงานสรุปฉบับผู้บริหาร โครงการ "ประสิทธิผลการจัดการน้ำผิวดินและผลกระทบต่อน้ำใต้ดิน" |
en_US |