dc.contributor.author |
สุตาภัทร พัวสวัสดีเทพ |
|
dc.contributor.author |
จตุพร สีม่วง |
|
dc.contributor.author |
พรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-25T02:56:15Z |
|
dc.date.available |
2023-09-25T02:56:15Z |
|
dc.date.issued |
2565-01 |
|
dc.identifier.citation |
ทีทัศน์วัฒนธรรม 21,2 (ม.ค.-มิ.ย. 2565) หน้า 85-97 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2773 – 9546 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83581 |
|
dc.description.abstract |
บทความวิจัยเรื่องแนวคิดและกระบวนการสร้างสรรค์เพลงพื้นบ้าน
ภาคใต้ร่วมสมัยของเอกชัย ศรีวิชัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ชีวประวัติของ
เอกชัย ศรีวิชัย 2) แนวคิดและกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานเพลงพื้นบ้าน
ภาคใต้ร่วมสมัย และ 3) วิเคราะห์ผลงานเพลงพื้นบ้านภาคใต้ร่วมสมัยที่มี
อิทธิพลต่อการส่งเสริมเพลงพื้นบ้านภาคใต้ในปัจจุบัน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย
เชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ เอกชัย ศรีวิชัย และผู้ให้
ข้อมูลรอง จำนวน 20 คน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ศิลปินเพลง
พื้นบ้านภาคใต้ 2) นักวิชาการหรือนักมานุษยวิทยาการดนตรี3) ครูอาจารย์
และนักวิชาการศึกษาที่ปฏิบัติการสอนเพลงพื้นบ้านภาคใต้ในสถานศึกษา
ท้องที่ภาคใต้ผลการศึกษา พบว่า เอกชัย ศรีวิชัย ได้เรียนรูปการแสดงพื้นบ้านภาคใต้
จากบิดา และหนังตะลุงครวญ แสงแก้ว จนกระทั่งสามารถนำมาประกอบอาชีพ
ศิลปินที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง โดยใช้แนวคิดการหยิบยืมทางศิลปะ
พื้นบ้านเป็นต้นทุนทางวัฒนธรรมในการพัฒนาเป็นเพลงลูกทุ่งพื้นบ้านร่วมสมัย
จากการวิเคราะห์โดยแบ่งประเด็นการวิเคราะห์เป็นต้นทุนวัฒนธรรมที่มาจาก
การหยิบยืมในด้านต่าง ๆ 5 ด้าน ได้แก่ 1) โครงสร้างทางดนตรีด้านจังหวะ
2) โครงสร้างทางดนตรีด้านการใช้เสียงและทำนอง 3) โครงสร้าง
ด้านวรรณกรรมและภาษา 4) โครงสร้างด้านการแต่งกาย และ 5) โครงสร้าง
และแนวคิดการสร้างความร่วมสมัย จากผลงานเพลงของเอกชัย ศรีวิชัย ทั้ง 9
เพลง ได้แก่ อย่าลืมมโนราห์ ห่วงแม่ห่วงบ้าน คนใต้คอยแฟน ผัวน้องพร
อย่าตีหม้อ นุ้ยเหออย่าไป สาธิตการประชันเพลงบอกของนายรอดหลอ
และนายปานบอด เพลงบอกขน และเพลงบอกเอกชัย ผลงานดังกล่าวมีอิทธิพล
ต่อการส่งเสริมเพลงพื้นบ้านภาคใต้ เนื่องจากเป็นการสร้างสรรค์เพลงพื้นบ้าน
ให้มีความร่วมสมัย เข้าใจง่าย ทำให้คนทุกเพศ ทุกวัย สามารถรับชม และรับฟัง
ได้อย่างเข้าใจ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of the study of the concept and creation
process of contemporary Thai southern folk songs composed by
Akachai Srivichai were 1) to explore the biography of Akachai Srivichai
2) to study the concept and creation process of contemporary Thai
southern folk songs composed by Akachai Srivichai and 3) to analyze
the contemporary Thai southern folk songs which impact on Thai
southern folk songs today. This qualitative research data was
collected by interviewing Akachai Srivichai and other twenty people
divided into 3 groups: 1 ) Southern folk song artists, 2 ) music
academists and music anthropologists and 3)lecturers, teachers, and
educators who teach southern folk songs in educational institutions
in the southern region. It is found that Akachai Srivichai had learned
Thai southern folk songs from his father and from the Thai southern
shadow play of Kruan Saengkaew until he could apply the skills to
become a professional and well-known artist. He utilized the
concept of the appropriation arts as a cultural capital in developing
his works into contemporary folk songs. Based on the analysis, the
cultural capital was divided into five structures: 1) musical rhythm
2) sound and melody 3) literature and language 4) dressing and 5)
concept of creating contemporariness studied from nine songs
influenced by Akachai Srivichai which are 1) Ya Leum Nora, 2) Huang
Mae Huang Baan, 3) Kon Tai Koi Fan, 4) Pua Nong Pon, 5) Ya Tee
Mor, 6) Nui Her Ya Pai, 7) Pleng Bok, a music battle between Rodlor
and Parnbod, 8) Pleng Bok Kon and 9) Pleng Bok Akachai. It is found
that the works have influenced other contemporary Thai southern
folk songs as the original songs shape the newly composed ones to
be modern; easy to understand; and suitable for everyone. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา |
en_US |
dc.relation.uri |
https://culture.bsru.ac.th/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C-21-%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A-2/ |
|
dc.rights |
สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา |
en_US |
dc.title |
แนวคิดและกระบวนการสร้างสรรค์เพลงพื้นบ้านภาคใต้ร่วมสมัยของเอกชัย ศรีวิชัย |
en_US |
dc.title.alternative |
The Concept and Creation Process of Contemporary Thai Southern Folk Songs Composed by Akachai Srivichai |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |