DSpace Repository

การศึกษาวัจนกรรมการแสดงความไม่พอใจตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลาง: กรณีศึกษาผู้เรียนภาษาไทยชาวจีน

Show simple item record

dc.contributor.author รดารัตน์ ศรีพันธ์วรสกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-25T03:04:25Z
dc.date.available 2023-09-25T03:04:25Z
dc.date.issued 2565-07
dc.identifier.citation ภาษาและภาษาศาสตร์ 40,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2565) หน้า 89-114 en_US
dc.identifier.issn 2672-9881 (Online)
dc.identifier.uri https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83582
dc.description.abstract การแสดงความไม่พอใจเป็นวัจนกรรมที่เสี่ยงต่อการคุกคามหน้าผู้ฟัง จึงเป็นหนึ่งใน วัจนกรรมที่ท้าทายสำหรับผู้เรียนภาษาที่สอง และเป็นประเด็นที่น่าสนใจในการนำมาศึกษาตามแนว วัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลาง งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งศึกษาวัจนกรรมการแสดงความไม่พอใจของผู้เรียนภาษาไทยชาวจีน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามชนิดเติมเต็มบทสนทนาจากผู้เรียนภาษาไทยชาวจีน ผู้พูดภาษาไทย และผู้พูดภาษาจีน กลุ่มละ 50 คน ผลการศึกษาพบว่าในสถานการณ์ที่ไม่พอใจผู้ฟัง ผู้เรียนภาษาไทยชาวจีนและผู้พูดภาษาจีนเลือกที่จะแสดงวัจนกรรมมากกว่าผู้พูดภาษาไทย อย่างไรก็ตาม เมื่อเลือกที่จะกล่าวแสดงความไม่พอใจ ผู้เรียนและผู้พูดภาษาจีนนิยมใช้กลวิธีอ้อมมากกว่ากลวิธีตรง ต่างจากผู้พูดภาษาไทยที่นิยมใช้กลวิธีตรงมากกว่ากลวิธีอ้อม ความแตกต่างเช่นนี้อาจก่อให้เกิดปัญหาในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมได้ ผลการศึกษาที่ได้จึงน่าจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนภาษาไทยสำหรับผู้เรียนชาวจีนต่อไป en_US
dc.description.abstractalternative The speech act of complaining is one type of face threatening act. It is a challenging speech act for L2 learners and has become one of the most significant topics in interlanguage pragmatics studies. The aim of this research is to investigate the speech act of complaining performed by Chinese learners of Thai and compare them to native speakers of Thai and Chinese. The data were collected using a discourse completion test (DCT). The participants were 50 Chinese learners of Thai, 50 native speakers of Thai, and 50 native speakers of Chinese. Results indicate that Chinese learners of Thai and native speakers of Chinese tend to perform the speech act of complaining more frequently than native speakers of Thai. However, when they decide to complain, Chinese learners of Thai and native speakers of Chinese prefer indirect strategies to direct ones, while native speakers of Thai prefer direct strategies. Such differences may result in some problems arising during intercultural communication. The findings may also have some important implications for language pedagogy. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ en_US
dc.relation.uri https://so04.tci-thaijo.org/index.php/joling/article/view/252347
dc.rights สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ en_US
dc.title การศึกษาวัจนกรรมการแสดงความไม่พอใจตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลาง: กรณีศึกษาผู้เรียนภาษาไทยชาวจีน en_US
dc.title.alternative An Interlanguage Pragmatic Study of the Speech Act of Complaining: A Case Study of Chinese Learners of Thai en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Thai Journal Article [90]
    บทความวารสารภาษาไทยจากฐานข้อมูลออนไลน์ Free Open Access

Show simple item record