dc.contributor.author |
กวิตา ฟองสถาพร |
|
dc.contributor.author |
ฤดีรัตน์ ชุษณะโชติ |
|
dc.contributor.author |
วรวุฒิ จิราสมบัติ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-25T10:01:57Z |
|
dc.date.available |
2023-09-25T10:01:57Z |
|
dc.date.issued |
2565-09 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา 12,1 (มิ.ย. 2565) หน้า 107-117 |
en_US |
dc.identifier.issn |
2586-937X (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83598 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างความหมายร่วมกัน (CMM) และแนวคิดการอ่านบทละคร (RT) ที่มีต่อความสามารถในการสนทนาแบบญี่ปุ่น (共話 หรือ Kyouwa) ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นระดับต้น กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มการเรียนรู้ศิลป์ภาษาญี่ปุ่น ณ โรงเรียนแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) กิจกรรมการเรียนรู้ และ 2) แบบวัดความสามารถในการสนทนาแบบญี่ปุ่นร่วมกับเกณฑ์รูบริคส์ที่พัฒนาขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบ Wilcoxon signed - rank test ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีผลความสามารถในการสนทนาแบบญี่ปุ่นหลังจากเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ .01 (z = 2.956, p-value = 0.003) ซึ่งในบทบาทผู้พูดมีคะแนนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ .01 โดยพฤติกรรมที่พัฒนาขึ้น ได้แก่ 1) การพูดไม่จบประโยคเพื่อแสดงความเกรงใจ 2) การถามคู่สนทนาเพื่อสลับบทบาทเป็นผู้ฟัง ตามลำดับ ในบทบาทผู้ฟังมีคะแนนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ .01 โดยพฤติกรรมที่พัฒนาขึ้น ได้แก่ 1) การตอบรับแสดงความรู้สึกร่วม 2) การตอบรับเสริมการสนทนาด้วยเสียงสั้นๆ หรือท่าทาง ตามลำดับ |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This research aimed to study the effects of the learning activity based on Coordinated Management of Meaning (CMM) and Reader’s Theatre (RT) on Japanese conversation style (共話 or Kyouwa). The sample of this study was 11 students who were eleventh-grade students majoring in Japanese from a secondary school in Bangkok. The research instruments were 1) a learning activity based on CMM and RT 2) an evaluation form to analyze students’ Japanese conversation style with rubrics scores. Descriptive statistics and Wilcoxon signed - rank test were used to compare the data. The findings revealed that the students’ Japanese conversation style of the post-test were significantly higher than the pre-test at .01 level (z = 2.956, p-value = 0.003). Speaker role’s data were significantly higher at .01 level in which 1) indirect disagreement and 2) turn-taking were higher respectively. Listener role’s data were significantly higher at .01 which 1) reaction phrase and 2) backchannels signals were higher respectively. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
กองบรรณาธิการหรือของวารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา |
en_US |
dc.relation.uri |
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsn/article/view/255621 |
|
dc.rights |
กองบรรณาธิการหรือของวารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา |
en_US |
dc.title |
ผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎี CMM และแนวคิด RT ที่มีต่อความสามารถในการสนทนาแบบญี่ปุ่น |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of Learning Activity Based on CMM and RT on Japanese Conversation Style |
en_US |
dc.type |
Article |
en_US |