DSpace Repository

COVID-19 Infodemic and Social Media Platforms in Thailand

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pirongrong Ramasoota
dc.contributor.author Abhibhu Kitikamdhorn
dc.contributor.other Chulalongkorn university. Faculty of Communication Arts
dc.date.accessioned 2024-02-05T09:51:59Z
dc.date.available 2024-02-05T09:51:59Z
dc.date.issued 2023
dc.identifier.uri https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84111
dc.description Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2023
dc.description.abstract This study aims to fill a knowledge void on disinformation in a non-western context by examining the infodemic phenomenon in Thailand covering an extensive period from 31 December 2019 to 31 July 2021. The research examines how disinformation about COVID-19 spreads on Facebook and Twitter in Thailand, as well as the effectiveness of counter-disinformation approaches, and policy gaps in addressing the infodemic. Data collection relies on these methodologies—content analysis, sentiment analysis, social network analysis, in-depth interviews, and document analysis. Content analysis of sampled data shows that herbal medicine claims, and politicized COVID-19 information, especially about censorship, are prevalent. Contextual factors evidently shape the nature and spread of disinformation. Meanwhile, social network analysis in the two selected social media platforms indicates the presence of echo chamber phenomenon. This in effect has impeded counter-narratives from reaching users under the disinformation clouts. In addition, the study also identifies several policy gaps: absence of policy frameworks for multi-stakeholder collaboration in curbing disinformation, lack of liability or accountability regime for social media platforms regarding disinformation, potential misuse of existing laws to silence political dissidents, and maintaining balance between freedom of information (access) and freedom of speech in the regulation of disinformation. The lessons learned from this study could contribute to policymaking concerning public communication during the pandemic and the promotion of media and information literacy regarding infodemic in Thai society. A contextualized and nuanced understanding of the problem from triangulated analysis could lead to the development of appropriate and effective policy measures as well as multi-sectoral approaches in tackling future infodemic.
dc.description.abstractalternative การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อเติมเต็มช่องว่างองค์ความรู้ในประเด็นข้อมูลเท็จ/ข้อมูลบิดเบือนนอกบริบทตะวันตกโดยศึกษาปรากฏการณ์การแพร่ระบาดของข้อมูลในประเทศไทย ครอบคลุมช่วงเวลาตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2564 2) เพื่อศึกษารูปแบบการแพร่กระจายของข้อมูลเท็จ/บิดเบือนเกี่ยวกับโควิด-19 บนเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ในไทย รวมถึงประสิทธิภาพของแนวทางในการรับมือกับปัญหาดังกล่าวด้วยข้อมูลหักล้าง และ 3) วิเคราะห์ช่องว่างทางนโยบายในการแก้ไขปัญหา ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา อารมณ์/ความรู้สึก และเครือข่ายทางสังคม ควบคู่ไปกับการวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิเคราะห์เนื้อหาพบว่าข้อมูลเกี่ยวกับสมุนไพรและการปั่นข้อมูลโควิด-19 เป็นการเมืองโดยเฉพาะประเด็นการเซ็นเซอร์ข่าวสารปรากฏเด่นชัด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของบริบทที่มีต่อธรรมชาติของเนื้อหาและการแพร่กระจายของข้อมูลเท็จ/ข้อมูลบิดเบือน ผลการวิเคราะห์เครือข่ายในแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ที่ทำการศึกษาพบโครงสร้างการสื่อสารแบบห้องเสียงสะท้อน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าความพยายามของรัฐบาลในการเผยแพร่ข้อมูลหักล้างยังไม่สามารถต้านมลภาวะทางข้อมูลได้ นอกจากนี้ งานศึกษานี้ยังชี้ให้เห็นช่องว่างทางนโยบายหลายประการ ได้แก่ การขาดกรอบกฎหมายเฉพาะที่เอื้อให้เกิดความร่วมมือจากหลายฝ่าย การไม่มีภาระรับผิดทางกฎหมายของแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ในประเด็นเกี่ยวกับข้อมูลเท็จ/ข้อมูลบิดเบือน การใช้อำนาจกฎหมายเป็นเครื่องมือปิดปากผู้เห็นต่างทางการเมือง และการขาดสมดุลระหว่างเสรีภาพการแสดงออกและสิทธิในข้อมูลข่าวสารในการกำกับดูแลข้อมูลเท็จ/ข้อมูลบิดเบือน บทเรียนที่ได้จากการศึกษานี้สามารถนำไปใช้ในการพัฒนานโยบายด้านการสื่อสารในภาวะวิกฤตโรคระบาดและการพัฒนาความรู้เท่าทันสื่อและข้อมูลสารสนเทศในสังคมไทย เนื่องจากความเข้าใจปัญหาในบริบทที่แท้จริงสามารถนำไปต่อยอดพัฒนาแนวทางการตอบสนอง/รับมือกับปัญหาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้ รวมทั้งใช้กับปรากฏการณ์แบบเดียวกันอนาคตได้
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject.classification Social Sciences
dc.subject.classification Information and communication
dc.subject.classification Journalism and reporting
dc.title COVID-19 Infodemic and Social Media Platforms in Thailand
dc.title.alternative ภาวะการระบาดของข้อมูลในวิกฤตไวรัสโคโรนากับแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ในประเทศไทย
dc.type Thesis
dc.degree.name Doctor of Philosophy
dc.degree.level Doctoral Degree
dc.degree.discipline Communication Arts
dc.degree.grantor Chulalongkorn university


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record