dc.contributor.author | มงคล เตชะกำพุ | |
dc.contributor.author | เอกชาติ พรหมดิเรก | |
dc.contributor.author | วันเพ็ญ ศรีอนันต์ | |
dc.contributor.author | จินดา สิงห์ลอ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2008-12-26T02:35:54Z | |
dc.date.available | 2008-12-26T02:35:54Z | |
dc.date.issued | 2547 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8568 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนี้เพื่อศึกษาการเก็บโอโอไซต์ด้วยวิธีเข็มดูดเจาะต่อกับเครื่องมือคลื่นความถี่สูงในกระบือปลักไทยในกระบือที่ไม่ตั้งท้องและกระบือหลังคลอด โดยศึกษาจำนวนโอโอไซต์และชนิดของโอโอไซต์ที่เก็บได้ และผลกระทบของการเจาะรังไข่ด้วยวิธี OPU ต่อการทำงานของระบบสืบพันธุ์ ทำการศึกษาในกระบือไม่ตั้งท้อง จำนวน 5 ตัว และกระบือหลังคลอดประมาณ 3 เดือนจำนวน 6 ตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่กระตุ้นด้วยฟอลลิเคิล สติมูเลติงฮอร์โมน ขนาด 400 มก. และกลุ่มที่ไม่ได้กระตุ้น ผลการศึกษาพบว่าการกระตุ้นด้วยฮอร์โมนทำให้ได้จำนวนโอโอไซต์ที่มากกว่ากระบือทั้งสองชนิดเมื่อเปรียบเทียบกับกระบือที่ไม่ได้ทำการกระตุ้น โดยได้ค่าเท่ากับ 3.7+-2.7(n=112) เทียบกับ 1.4+-1.3 (n=35) โอโอไซต์ต่อตัว (P<0.05) ในกลุ่มกระบือที่ไม่อุ้มท้อง และเท่ากับ 5.9+-3.5 (n=196) เทียบกับ 0.7+-0.8 (n=24) โอโอไซต์ต่อตัว (P<0.05) ในกลุ่มกระบือหลังคลอด โดยอัตราการเก็บโอโอไซต์ในกระบือทั้งสองกลุ่มเท่ากับ 50-60% โอโอไซต์ที่ได้มีลักษณะที่มีเซลล์คิวมูลัสหุ้มรอบประมาณ 60-70% และจากการศึกษาผลการะทบหลังเจาะโดยติดตามการเจริญของฟอลลิเคิลทุกสัปดาห์ในกระบือ 4 ตัวพบว่าทุกสัปดาห์จะมีฟอลลิเคิลจำนวนหนึ่งที่เจริญขึ้นมาเท่ากับ 2.4+-1.3 (n=75) ฟอลลิเคิลต่อตัวและสามารถเจาะเอาโอโอไซต์ได้ทุกสัปดาห์ เท่ากับ 1.2+-1.3 (n=37) โอโอไซต์ต่อตัว และจากการติดตามการทำงานของรังไข่โดยการตรวจจากการเจริญของฟอลลิเคิลด้วยเครื่องอัลตราซาวน์หลังสิ้นสุดการเจาะโอโอไซต์พบว่ากระบือ 3 ใน 4 ตัว มีการแสดงการพัฒนาเป็นคลื่นมีการเกิดฟอลลิเคิลชนิดโดมิแนนท์ประมาณ 15-16 วัน แสดงให้เห็นว่ารังไข่ยังคงมีการทำงานได้ตามปกติ จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าสามารถเจาะเก็บโอโอไซต์จากรังไข่ของแม่กระบือที่ไม่อุ้มท้องและหลังคลอด ทั้งกระตุ้นและไม่กระตุ้นด้วยฮอร์โมนโกนาโดโทรปิน รวมทั้งรังไข่มีฟอลลิเคิลที่เจริญปกติหลังเลิกเจาะ | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of the study was to compare oocyte quality and recovery rate from non pregnant and postpartum, swamp buffalo cows, after gonadotropin stimulation and non stimulation. The long term effect of post OPU on ovarian function, was investigated by daily ultrasonongraphy. Ultrasound-guided, follicular aspirations (OPU) were performed on 5 non-pregnant and 6 early postpartum buffalo cows, every two weeks. For visualization of the ovaries and guidance of the aspiration needle, a 5.0 MHz transvaginal probe attached to a probe carrier, was inserted into the vagina. After penertration of the vaginal wall, the needle was inserted into the follicles. The follicular fluid, with oocytes were aspirated at a pressure of 80-100 mmHg. The buffaloes with two different reproductive statuses were given a total dose of with 400 mg Follicle Stimulating Hormone (FSH) over three days, in decreasing doses and 100 [mu]g Gonadotropin Releasing Hormone (GnRH) intramuscularly, 24 h after the last FSH. Oocyte collections were made for 6 sessions in the FSH-treated animals in both of non pregnant and postpartum cows. After a 2 week resting period, OPU was restarted for another 6 sessions in non stimulated animals. In the non pregnant group, the recovered oocytes numbered 3.7+-2.7 (n=112), higher than in nontreated animals, 1.4+-1.3 (n=35) (P<0.05), while in postpartum group, they were 9.0+-3.2 (n=196), higher than in the non stimulated group, 0.7+-0.8(n=24) (P<0.05). The oocyte recovery rates in both buffalo groups was around 50-60%. Sixty to seventy percent of recovered oocytes were classified as complex cumulus oocytes and single cumulus oocytes. After finishing OPU, it was found that follicle development occurred normally in all observed animals, with the appearance of a dominant follicle between 15-16 days. In this study, it could be concluded that oocyte retrieval by OPU can be performed in non-pregnant and early postpartum buffalo cows and the supplementation of FSH can increase the number of aspirated oocytes. No significant effect on ovarian function after long term OPU was seen in these buffaloes. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปี 2545 | en |
dc.format.extent | 6302931 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กระบือปลัก | en |
dc.subject | โอโอไซต์ | en |
dc.subject | การผสมเชื้อ | en |
dc.title | การเก็บโอโอไซต์ด้วยการเจาะผ่านช่องคลอด โอพียูในแม่กระบือปลักที่มีวงจรการเป็นสัดปกติและในแม่กระบือเลี้ยงลูก | en |
dc.title.alternative | Oocyte recovery by transvaginal ultrasound-guided follicle aspiration technique in cyclic and lactating swamp buffalo cows (bubalus bubalis) | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | mongkol.t@chula.ac.th | |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล |