dc.contributor.author |
ณุวีร์ ประภัสระกูล |
|
dc.contributor.author |
เผด็จ ธรรมรักษ์ |
|
dc.contributor.author |
ธงชัย เฉลิมชัยกิจ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2009-01-08T09:40:28Z |
|
dc.date.available |
2009-01-08T09:40:28Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8594 |
|
dc.description.abstract |
จากการทดลองของคณะผู้วิจัยพบว่าการใช้โคลิสตินและสารสมุนไพรเบอร์เบอร์รีนผสมอาหารเพื่อเร่งการเจริญเติบโตมีประสิทธิภาพในการควบคุมปริมาณเชื้ออี. โคไล ดีกว่าการใช้ฮาควินอล อย่างไรก็ตามเชื้อที่สามารถอยู่รอดหลังจากการได้รับสารต้านจุลชีพในระดับต่ำกว่าการรักษาอาจส่งผลให้เกิดการดื้อยาได้ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบค่าความเข้มข้นที่ต่ำที่สุดของยาที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ(Minimal Inhibitory Concentration; MIC) ของเชื้ออี. โคไล จำนวน 78 เชื้อ ที่ได้จากการทดลองของคณะวิจัยเองการทดลองพบว่า เชื้ออี. โคไล ที่แยกได้ในสัปดาห์แรกก่อนให้สารต้านจุลชีพมีค่า MIC50 เท่ากับ 2 [mu]g/ml และหลังจากให้ยาติดต่อกับ 6 สัปดาห์ (ที่อายุ 10 สัปดาห์) ค่า MIC50 และ MIC90 ต่อโคลิสตินเพิ่มเป็น 8 และ16 [mu]g/ml ตามลำดับ ในขณะที่ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของค่า MIC50ต่อโคลิสตินในเชื้ออี. โคไลที่แยกได้จากสุกรในกลุ่มที่ได้รับฮาควินอลและเบอร์เบอร์รีน ในกลุ่มสุกรที่ได้รับฮาควินอล เชื้ออี. โคไล มีค่า MIC50 ต่อยาฮาควินอล มีค่าเท่ากับ 8 [mu]g/ml ในสัปดาห์ที่ 4 และเพิ่มเป็น 16 [mu]g/ml ในสัปดาห์ที่ 6 และ 10 ในขณะที่เชื้ออี. โคไล ที่แยกได้จากสุกรที่ได้เบอร์เบอร์รีน มีค่า MIC50ต่อเบอร์เบอร์รีนมากกว่า 128 [mu]g/ml ตลอดการทดลอง นอกจากนี้ได้ทำการหาค่า MIC ของเชื้อ อี. โคไล ที่แยกได้ทั้งหมดต่อยาต้านจุลชีพอีกจำนวน 13 ชนิด พบว่าการให้สารเร่งการเจริญเติบโตทั้ง 3 ชนิด ไม่มีผลต่อการเพิ่มของระดับ MIC ต่อยาทั้ง 13 ชนิด และพบว่ายาต้านจุลชีพที่ยับยั้งการเจริญของเชื้ออี.โคไลที่มีช่วงค่าMIC50ที่มากกว่า 128 [mu]g/ml ดังนี้คือ เพนิซิลลิน อะม็อกซี่ซิลลิน นาลิดิซิกแอซิด ลินโคมัยซิน ไทโลซิน ไทอะมูลิน เตตราไซคลิน คลอเตตราไซคลิน ยาที่มีช่วงค่า MIC50 อยู่ในระดับสูง (32-128 [mu]g/ml) ได้แก่ สเตรปโตมัยซิน อีริโทรมัยซิน และด๊อกซี่ไซคลิน ซัลฟาเมทอกซาซอลร่วมกับไตเมทโทพริมมีค่า MIC50>8/152[mu]g/ml และเอนโรฟอกซาซินมีค่าMIC50เท่ากับ 16[mu]g/ml จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าการใช้โคลิสตินและฮาควินอลผสมอาหารเป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ มีแนวโน้มทำให้ค่า MIC ของเชื้อ อี. โคไล เพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงผลของการใช้ยาปฏิชีวนะผสมอาหารในระดับต่ำกว่าระดับรักษาที่ส่งผลต่อภาวะการคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียดื้อยาในลำไส้ และอาจมีผลต่อแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของเชื้อที่ดื้อยาในตัวสัตว์และสิ่งแวดล้อมในระยะยาว |
en |
dc.description.abstractalternative |
Our previous study indicated that using of colistin and berberine in feed additive had effectiness for controlling overpopulation of E.coli in postweaning pig rather than that with halquinol. However the possibility of drug resistance impact in survival bacteria has been questioned. The current study was to assess the induction of tremendous changes of MIC level of 78 E. coli isolated from postweaning piglets, following received three commercial feed additive administrations from 4th to 10th week of the age. The in vitro activities of 16 antimicrobials were determined by agar dilution method. At 4th week, the MIC50 values to colistin was 2 [mu]g/ml, whereas the MIC50 and MIC90 of E.coli isolated from pig that received colistin at 10th week increased to 8 [mu]g/ml and 16 [mu]g/ml, respectively. The MIC values to colistin in the other groups were not over 4 [mu]g/ml. For E.coli isolated from pigs that received halquinol at 4th week to 10th week, the MIC50 to halquinol increased respectively from 8 [mu]g/ml to16 [mu]g/ml. On the other hand, the MIC value of berberine gave over 128 [mu]g/ml throughout experiment. All isolates were resistant to penicillin, amoxycillin, lincomycin, nalidixic acid, tylosin, tiamulin, tetracycline and chlortetracycline. For enrofloxacin, doxycycline, streptomycin and erythromycin, the MIC50 were 16, 32, 64 and 128 [mu]g/ml, respectively. The MIC value of sulfamethoxazole-trimetroprim were <0.06/1.18 [mu]g/ml to >8/152 [mu]g/ml. Our findings support the tendency of inducing E.coli resistant strain in vivo, following 6 weeks administration of the antimicrobial agents at sub-therapeutic dose. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยคณะสัตวแพทยศาสตร์ ปี 2548 |
en |
dc.format.extent |
413044 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ปฏิชีวนะทางสัตวแพทยศาสตร์ |
|
dc.subject |
เอสเคอริเคียโคไล |
|
dc.subject |
สุกร -- โรค |
|
dc.subject |
ท้องร่วงในสุกร |
|
dc.subject |
ท้้องร่วงในสัตว์ |
|
dc.title |
ผลของสารเร่งการเจริญเติบโตต่อความไวรัสของเชื้ออี.โคไลในอุจจาระสุกรอนุบาลต่อยาต้านจุลชีพ |
en |
dc.title.alternative |
Effects of commercial feed additives to minimal inhibitory concentration (MIC) levels of Escherichia coli isolated from piglets against antimicrobial agents |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
Padet.T@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Thongchai.C@Chula.ac.th |
|
dc.subject.keyword |
เชื้ออี.โคไล |
en |
dc.subject.keyword |
สารเร่งการเจริญเติบโต |
en |
dc.subject.keyword |
ค่า MIC |
en |
dc.subject.keyword |
โคลิสติน |
en |