dc.contributor.author |
ปรีดา บุญ-หลง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2009-01-20T08:45:01Z |
|
dc.date.available |
2009-01-20T08:45:01Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8704 |
|
dc.description.abstract |
การเปรียบเทียบการตอบสนองทางสรีรวิทยาต่อภาวะแล้งและภาวะเค็มของถั่วเหลืองพันธุ์สจ.5 และ มข.35 พบว่า ถั่วเหลืองพันธุ์ มข.35 สามารถเจริญเติบโตในภาวะแล้งได้ดีกว่าถั่วเหลืองพันธุ์ สจ.5 โดยที่ถั่วเหลืองพันธุ์ มข.35 สามารถรักษาระดับปริมาณรงควัตถุที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงไว้ได้ดีกว่าในช่วงที่เผชิญกับภาวะแล้ง ทั้งยังสามารถฟื้นตัวได้เร็วกว่าด้วย นอกจากนี้ ยังพบการทำงานของเอนไซม์ catalase ที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในใบบริเวณยอดและใบล่างของถั่วเหลืองพันธุ์ มข.35 อย่างไรก็ตาม ในการตอบสนองต่อภาวะเค็ม พบว่า ถั่วเหลืองพันธุ์ สจ.5 มีความสามารถในการรักษาน้ำหนักแห้งต้น
ไว้ได้ถึง 15 วันหลังจากเผชิญกับภาวะเค็มที่ 80 mM ในขณะที่ถั่วเหลืองพันธุ์ มข.35 มีความสามารถในการรักษาน้ำหนักแห้งต้นไว้ได้เพียง 12 วันหลังเผชิญกับภาวะเค็มที่ 40 และ 80 mM นอกจากนี้ ถั่วเหลืองพันธุ์สจ.5 ยังสามารถรักษาระดับปริมาณรงควัตถุที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงในใบล่างไว้ได้ดีกว่าถั่วเหลืองพันธุ์มข.35 ตลอดระยะเวลา 18 วันที่อยู่ในภาวะเค็ม การทนต่อภาวะเค็มของถั่วเหลืองพันธุ์ สจ.5 นี้มีความสัมพันธ์กับระบบขจัด ROSs อย่างชัดเจน โดยพบว่าเป็นการทำงานร่วมกันของเอนไซม์ superoxide dismutase และcatalase ในใบบริเวณยอด catalase ascorbate peroxidase และ glutathione reductase ในใบล่าง ดังนั้นจากผลการทดลองดังกล่าว ทำให้ระบุได้ว่าประสิทธิภาพของถั่วเหลืองทั้งสองพันธุ์ในการต้านทานต่อภาวะ
แล้งและเค็มที่แตกต่างกันส่วนหนึ่งมาจากบทบาทในการขจัด ROSs ของเอนไซม์ในระบบ |
en |
dc.description.abstractalternative |
Comparison of physiological responses to drought and salt stress was studied in two cultivars of soybean (Glycine max (L.) Merrill), SJ5 and KKU 35. It was found that KKU 35 exhibited better growth than SJ5 during drought stress which was indicated by the capacity to maintain photosynthetic pigments and the recovery after rewatering. Moreover, catalase activity was increased significantly in both upper and lower leaves of KKU5 soybean. However, SJ5 showed the capacity in maintaining dry weight for 15 days of 80 mM salt stress whereas KKU35 could only maintain dry weight for 12 days of 40 and 80 mM salt stress. Furthermore, SJ5 had the ability to maintain photothynthetic pigments in lower leaf during 18 days of salt stress. Salt stress tolerance of SJ5 clearly related to antioxidant system which was the synergistic effect of superoxide dismutase and catalase activities in upper leaves and catalase, ascorbate peroxidase, and glutathione
reductase activity in lower leaves. Taken together, it was suggested that the difference between the efficiency of drought and salt stress resistance in both soybean varieties is partly influenced by scavenging role of antioxidant enzymatic system. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช |
en |
dc.format.extent |
942247 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ถั่วเหลือง -- ผลกระทบจากความเครียด |
|
dc.subject |
ถั่วเหลือง -- การเจริญเติบโต |
|
dc.subject |
Reactive oxygen species |
|
dc.title |
ระบบขจัด reactive oxygen species ของถั่วเหลือง (Glycine max (L.) Merrill) เมื่อได้รับความเครียดจากภาวะขาดน้ำ : รายงานวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Reactive oxygen species scarvenging systems in soybean (Glycine max (L.) Merrill) during water stress |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Preeda.b@chula.ac.th |
|