DSpace Repository

การเหนี่ยวนำให้แม่โคเป็นสัดหลังคลอดพร้อมกันโดยใช้ฮอร์โมนพรอสตาแกลนดินเอฟ-ทู อัลฟา โดยวิธีฉีดเข้าโพรงมดลูก

Show simple item record

dc.contributor.author ปราจีน วีรกุล
dc.contributor.author สุภาพรรณ บุตรเจริญ
dc.contributor.author จันทร์เพ็ญ สุวิมลธีระบุตร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2009-01-26T09:25:44Z
dc.date.available 2009-01-26T09:25:44Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8724
dc.description.abstract ทดลองเหนี่ยวนำการเป็นสัดในแม่โคนมลูกผสมพันธุ์ โฮลสไตน์ ฟรีเชียน จากฟาร์มโคนม 3 ฟาร์ม และแบ่งโคออกเป็น 3 กลุ่ม โคกลุ่มแรก (26 ตัว) ถูกเหนี่ยวนำให้เป็นสัดด้วยวิธีฉีด PGF[subscript 2[alpha]] ขนาด 500 [mu]g เข้ากล้ามเนื้อ (กลุ่มควบคุม) โคกลุ่มที่ 2 (30 ตัว) และกลุ่มที่ 3 (30 ตัว) ถูกเหนี่ยวนำการเป็นสัดด้วย PGF [subscript 2[alpha]] 125 [mu]g และ 62.5 [mu]g ตามลำดับ โดยวิธีฉีดเข้าปีกมดลูกข้างเดียวกับที่ตรวจคลำพบคอร์ปัสลูเตียมบนรังไข่โดยใช้เทคนิคเช่นเดียวกับการผสมเทียม ระดับฮอร์โมนโปรเจสเทอโรนในกระแสเลือดในวันเริ่มการทดลอง (วันที่ 0) ในแม่โคทั้ง 3 กลุ่มไม่แตกต่างกัน (P>0.05) คือ 3.10+-1.52, 3.06+-1.13 และ 3.44+-1.43 นาโนกรัม/มล. ตามลำดับ ระดับโปรเจสเทอโรนในวันที่ 1 และ 3 หลังการทดลอง ลดต่ำลงทั้ง 3 กลุ่ม ลำบไม่แตกต่างกัน (P>0.05) คือ 0.58+-0.75, 0.92+-1.01 และ1.20+-1.39 นาโนกรัม/มล. ตามลำดับในวันที่ 3 หลังการทดลอง จำนวนโคที่มีระดับโปรเจสเทอโรนลดลงต่ำกว่า 0.5 นาโนกรัม/มล. ภายใน 3 วันทั้ง 3 กลุ่ม หลังฉีดไม่แตกต่างกัน (P>0.05) คือ 84.62, 73.33 และ 63.33% ตามลำดับ การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าการลดขนาด PGF [subscript 3[alpha]] เหลือ ¼ และ 1/8 โด๊ส ฉีดเข้าสู่ปีกมดลูก ด้านเดียวกับที่ตรวจคลำพบคอร์ปัสลูเตียม สามารถใช้เหนี่ยวนำให้แม่โคหลังคลอดให้เป็นสัดได้ วิธีนี้จะช่วยลดต้นทุนการผลิตทุนการผลิตและปรับใช้ในภาคสนาม en
dc.description.abstractalternative This study was conducted to induce estrus estrus in crossbred Holstein Friesian dairy cows using decreasing doses of PGF[subscript 2[alpha]] by intrauterine infusion. The trial cows were divided into 3 groups, the first group (n=26) (control) were induced by using PGF[subscript 2[alpha]] 500 [mu]g IM. The second (n=30) and the third group (n=30) cows were induced by using 125 [mu]g and 62.5 [mu]g infused into the middle of the uterine horn, ipsilateral to the corpus luteum by using the AI technique. Serum progesterone levels on the day of treatment (Day 0) were similar (P>0.05) for the three groups (3.10+-1.52, 3.05+-1.13 and 3.4+-1.43 ng/ml respectively). Serum progesterone on day 1 and 3 after the PGF[subscript 2[alpha]] was also similar (0.58+-0.75, 0.92+-1.01 and 1.20+-1.39 ng/ml respectively on day 1 and 0.53+-0.85, 0.54+-0.82 and 0.70+-1.03 ng/ml respectively on day 3). Estrus rates among the 3 groups were similar (P>0.05; 84.62%, 73.33% and 63.33% respectively). Intrauterine infusion of reduced doses of PGF[subscript 2[alpha]] (1/4 and 1/8 does) can induced luteolysis in dairy cows during the luteal phase within 3 days just as effectively as the IM route. These results can be used to assist estrus induction in postpartum dairy cows. en
dc.format.extent 1373006 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject โคนม
dc.subject พรอสตาแกลนดิน
dc.subject การเป็นสัด
dc.title การเหนี่ยวนำให้แม่โคเป็นสัดหลังคลอดพร้อมกันโดยใช้ฮอร์โมนพรอสตาแกลนดินเอฟ-ทู อัลฟา โดยวิธีฉีดเข้าโพรงมดลูก en
dc.title.alternative Estrous synchronization in postpatum dairy cows by intrauterine infusion of postaglandin F[subscript 2[alpha]] en
dc.type Technical Report es
dc.email.author prachin.v@chula.ac.th
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record