dc.contributor.author |
ฉัตรชัย ยังพลขันธ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2009-02-02T01:28:16Z |
|
dc.date.available |
2009-02-02T01:28:16Z |
|
dc.date.issued |
2551 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8743 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียนชายและหญิงชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ 2) เพื่อหาเกณฑ์ปกติของสมรรถภาพทางกายที่เกี่ยวกับสุขภาพของแต่ละเพศและระดับชั้นกลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนจำนวน 1,442 คน เป็นชาย 761 คน และเป็นหญิง 681 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบวัดสมรรถภาพทางกายจำนวน 5 รายการ ได้แก่ ลุก–นั่ง 30 วินาที นั่งก้มตัวไปข้างหน้า งอแขนห้อยตัว ก้าวขึ้นลงม้านั่ง 5 นาที และดัชนีมวลกายสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าคะแนนที และค่าเปอร์เซ็นไทล์ผลการวิจัยพบว่า สมรรถภาพทางกายเกือบทุกรายการของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง ทุกชั้นอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นในรายการงอแขนห้อยตัว ซึ่งนักเรียนชายชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับต่ำและนักเรียนชายชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 6 อยู่ในระดับต่ำมาก เช่นเดียวกับนักเรียนหญิงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 มีสมรรถภาพในรายการนี้อยู่ในระดับ ต่ำมากเช่นกันได้ผลการสร้างเกณฑ์ปกติสมรรถภาพทางกาย เพื่อสุขภาพของนักเรียนชายและนักเรียนหญิง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมสำหรับเพื่อเป็นเกณฑ์อ้างอิงของนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมต่อไป |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were : 1) to study health – related fitness of male and female students in grades 1 – 6 at Chulalongkorn University Demonstration School , and 2) to find out the norms of health – related fitness of each gender and grade level. The samples were 1 , 442 students , 761 of which were males and 681 were females. The instrument used was a physical fitness test which consisted of 5 items : 30 seconds sit – up , sit and reach , flex arm hang , Harvard step – test and body mass index (BMI). The data were analyzed by means of average , standard deviations , T – score and percentiles to determine the level of physical fitness of each sex and grade level. The finding were as follows : The health – related physical fitness of male and female students of all grades were found at the medium level in almost all items except the flex arm hang item. For the flex arm hang item , fourth grade male students were found to have “low” level of physical fitness and first and sixth grade male students as well as fourth and fifth and fifth grade female students had “very poor” level of fitness in this item. The health – related physical fitness norms for grades 1 – 6 male and female students at Chulalongkorn University Demonstration Elementary school were also set up for future reference. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนเพื่อการวิจัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550 |
en |
dc.format.extent |
1729999 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
สมรรถภาพทางกาย |
|
dc.subject |
นักเรียนประถมศึกษา -- สุขภาพและอนามัย |
|
dc.subject |
โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) -- นักเรียน |
|
dc.title |
เกณฑ์ปกติสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : รายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Health–related physical fitness norms for grades 1-6 students of Chulalongkorn University Demonstration Elementary School |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Chartchai.Y@Chula.ac.th |
|