dc.contributor.author |
ประภัสสร โพธิ์ศรีทอง |
|
dc.contributor.other |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.date.accessioned |
2009-05-29T08:57:35Z |
|
dc.date.available |
2009-05-29T08:57:35Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารอักษรศาสตร์. 36,1(ม.ค.-มิ.ย. 2550),173-188 |
en |
dc.identifier.issn |
0125-4820 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8938 |
|
dc.description.abstract |
พ่อค้ามุสลิมชาวอินเดียมีบทบาทต่อการค้าผ้าของไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาเรื่อยมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น พ่อค้าเหล่านี้เป็นผู้นำผ้าชนิดต่างๆ เข้ามาขายในสยาม ทั้งยังเป็นผู้กระจายสินผ้าอินเดียไปสู่ชาวสยามตั้งแต่ชนชั้นสูงถึงไพร่บ้านพลเมือง ผ้าที่นำเข้าจากอินเดียมีแหล่งผลิตใหญ่อยู่สองภูมิภาคคือจากแคว้นกุจราต (Gujarat) ทางตะวันตกของอินเดีย และชายฝั่งโคโรเมนเดล (Coromandel Coast) ทางฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดีย การค้าผ้าในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่อยู่ในมือของพ่อค้าเปอร์เซียและพ่อค้าอินเดียซึ่งมีทั้งผ้าที่ผลิตตามแบบแขกและที่ออกแบบส่งลายไปให้ช่างอินเดียผลิตตามรสนิยมของชาวสยาม ต่อมาในสมัยต้นรัตนโกสินทร์พ่อค้าชาวอินเดียเป็นผู้มีบทบาทสำคัญต่อการค้าผ้า พวกเขาได้ตั้งห้างจำหน่ายสินค้ามีชื่อเสียง เช่น ห้างมัสกาตีของพ่อค้าอินเดียตระกูลมัสกาดี มุสลิมนิกายชีอะห์เชื้อสายอินเดียกลุ่มโบราห์จากเมืองสุรัตที่เดินทางเข้ามาทำการค้าและตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตธนบุรี การค้าผ้าของพ่อค้ามุสลิมเริ่มซบเซาลงเมื่อมีการตั้ง |
|
dc.format.extent |
1075676 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.ispartofseries |
แขกไทย - แขกเทศ ข้ามเขตความรู้ |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
พ่อค้า -- มุสลิม |
en |
dc.subject |
ผ้า -- อินเดีย |
en |
dc.title |
พ่อค้ามุสลิมกับการค้าผ้าอินเดียในหน้าประวัติศาสตร์ไทย |
en |
dc.type |
Article |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|