DSpace Repository

พัฒนาการการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะทางจิตใจในการโน้มน้าวผู้อื่นในเด็กไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์
dc.contributor.author เณริกา อนันตพฤทธ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2009-07-09T06:14:20Z
dc.date.available 2009-07-09T06:14:20Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9155
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะทางจิตใจในการโน้มน้าวผู้อื่นของเด็กอายุ 4-7 ปี 2. เพื่อทำนายความสามารถที่ไม่ได้เป็นไปโดยโอกาสในการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะทางจิตใจในการโน้มน้าวผู้อื่นของเด็กไทย 3. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะทางจิตใจในการโน้มน้าวผู้อื่นของเด็กอายุ 4-7 ปีทีมีพัฒนาการด้านความสามารถในการเข้าใจความเชื่อของผู้อื่น และเด็กที่ไม่มีพัฒนาการด้านความสามารถในการเข้าใจความเชื่อของผู้อื่น ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กอายุ 4 ปี 5 ปี 6 ปี และ 7 ปีมีความสามารถในการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะจิตใจในการโน้มน้าวผู้อื่นเพิ่มขึ้นตามอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 เมื่อเปรียบเทียบเด็กอายุ 4-7 ปี พบว่าเด็กอายุ 7 ปี มีคะแนนความสามารถในการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะทางจิตใจในการโน้มน้าวผู้อื่นสูงที่สุด รองลงมาคือ เด็กอายุ 5 ปี และ 6 ปี และต่ำสุดคือ เด็กอายุ 4 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. เด็กไทยมีพัฒนาการด้านความสามารถในการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะทางจิตใจในการโน้มน้าวผู้อื่น เมื่อมีอายุประมาณ 7 ปี 3. เด็กอายุ 4-7 ปีที่มีความสามารถในการเข้าใจความเชื่อของผู้อื่นสามารถใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะทางจิตใจในการโน้มน้าวผู้อื่นได้ดีกว่าเด็กที่ไม่สามารถเข้าใจความเชื่อของผู้อื่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 en
dc.description.abstractalternative The purposes of this thesis were to compare ability of using mental state information to persuade others in four- to seven-year-old children, to predict Thai children's above chance ability of using mental state information to persuade others, and to compare ability of using mental state information to persuade others in children who understand and do not understand other's belief. The subjects consisted of 160 children, 80 boys and 80 girls aged 4, 5 ,6 and 7 years old. The instrument was the Belief tasks and Persuasion tasks modified from the study of Bartsch and London (2000). One-way ANOVA was used for statistical analysis. The study shows that: 1. Ability of using mental state information to persuade others in four- to seven-year-old children increases in accordance with their increasing age (p<.001).Seven-year-old children have higher ability in using mental state information to persuade others than the five- and six-year-olds. Four-year-old children have the lowest ability in using mental state information to persuade others (p<.01). 2. Results from Logistic Regression reveals that Thai children are able to use mental state information to persuade others approximately at seven years old. 3. Four- to seven-year-old children who understand other's belief are able to use mental state information to persuade others better than those who do not understand other's belief (p<.001). en
dc.format.extent 1324428 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1025
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การโน้มน้าวใจ en
dc.title พัฒนาการการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะทางจิตใจในการโน้มน้าวผู้อื่นในเด็กไทย en
dc.title.alternative Development of using mental state information to persuade others in Thai children en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาพัฒนาการ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Penpilai.R@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.1025


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record