DSpace Repository

ผลของระดับการพึ่งพา จำนวนของบุคคลอื่นที่ปรากฏตัวและระดับความรุนแรงของสถานการณ์ที่ต้องการความช่วยเหลือต่อความตั้งใจแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อของเด็กอายุ 9 ปี

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์
dc.contributor.author จุฑามาศ คงอภิรักษ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2009-08-11T04:03:52Z
dc.date.available 2009-08-11T04:03:52Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.isbn 9741714629
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9913
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของระดับการพึ่งพาและระดับความรุนแรงของสถานการณ์ที่ต้องการความช่วยเหลือ และผลของจำนวนของบุคคลอื่นที่ปรากฏตัวและระดับความรุนแรงของ สถานการณ์ที่ต้องการความ ช่วยเหลือที่มีต่อความตั้งใจแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อของเด็กอายุ 9 ปี กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กระดับ ประถมศึกษาที่มีอายุระหว่าง 9 ปี-9 ปี 11 เดือน จำนวน 60 คน โดยให้เด็ก ประเมินความตั้งใจแสดง พฤติกรรม เอื้อเฟื้อของตนเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การวิเคราะห์ ความแปรปรวนสองทาง แบบวัดซ้ำ (Two-way ANOVA with repeated measures) ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กมีคะแนนความตั้งใจ แสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อ ในสถานการณ์ที่มีระดับการพึ่งพาสูง และมี ความรุนแรงมากและสถานการณ์ที่มีระดับการพึ่งพาสูงและมีความรุนแรงน้อยสูงกว่าสถานการณ์ ที่มีระดับการพึ่งพาต่ำ และมีความรุนแรงน้อย และสถานการณ์ที่มีระดับการพึ่งพาต่ำและมีความ รุนแรงมาก ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 2. เด็กมีคะแนนความตั้งใจแสดง พฤติกรรมเอื้อเฟื้อในสถานการณ์ที่มีจำนวน คนมากและมีความรุนแรงน้อย และสถานการณ์ที่มี จำนวนคนน้อยและมีความรุนแรงน้อยสูงกว่า สถานการณ์ที่มีจำนวนคนมากและมีความรุนแรงมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เด็กมี คะแนนความตั้งใจแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อใน สถานการณ์ที่มีจำนวนคนมากและมีความรุนแรงน้อย สูงกว่าสถานการณ์ที่มีจำนวนคนน้อยและ มีความรุนแรงมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ไม่พบความแตกต่างระหว่างคะแนน ความตั้งใจแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อของเด็กในสถานการณ์ ที่มีจำนวนคนน้อยและมีความรุนแรงมาก และสถานการณ์ที่มีจำนวนคนน้อยและมีความรุนแรงน้อย 5. ไม่พบความแตกต่างระหว่างคะแนน ความตั้งใจแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อของเด็กในสถานการณ์ ที่มีจำนวนคนมากและมีความรุนแรงมาก และสถานการณ์ที่มีจำนวนคนน้อยและมีความรุนแรงมาก en
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study the effects of dependency level and seriousness of need situation, and number of bystanders and seriousness of need situation on nine-year-old children's intention to perform altruistic behavior. The subjects consisted of 60 elementary school children aged 9 years to 9 years 11 months. The children were asked to evaluate their own intention to perform altruistic behavior. Two-way ANOVA with repeated measures was used for statistical analysis. The results are as follows : 1. Children showed higher intention to perform altruistic behavior when the person in need had a high level of dependency in both serious and non-serious need situations than when the person in need had a low level of dependency and non-serious need situation, and low level of dependency and serious need situation; respectively, at a significant level of .05. 2. Children showed higher intention to perform altruistic behavior when there were either many or few bystanders and the need situation was non-serious than when there were many bystanders and the need situation was serious at a significant level of .05. 3. Children showed higher intention to perform altruistic behavior when there were many bystanders and the need situation was non-serious than when there were few bystanders and the need situation was serious at a significant level of .05. 4. When there were few bystanders, there was no significant difference between children's intention to perform altruistic behavior in the serious and non-serious need situation. 5. When the need situation was serious, there was no significant difference between children's intention to perform altruistic behvaior when there were many bystanders and few bystanders. en
dc.format.extent 2290960 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject จิตวิทยาเด็ก en
dc.subject ความเอื้อเฟื้อในเด็ก en
dc.subject พฤติกรรมการช่วยเหลือ en
dc.title ผลของระดับการพึ่งพา จำนวนของบุคคลอื่นที่ปรากฏตัวและระดับความรุนแรงของสถานการณ์ที่ต้องการความช่วยเหลือต่อความตั้งใจแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อของเด็กอายุ 9 ปี en
dc.title.alternative Effects of dependency level, number of bystanders, and seriousness of need situation on nine-year-old children's intention to perform altruistic behavior en
dc.type Thesis es
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline จิตวิทยาพัฒนาการ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Puntip.S@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record