Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10085
Title: ต้นทุนของการให้บริการส่วนบุคคลและครอบครัวที่เป็นบริการป้องกันโรค ตามชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุข
Other Titles: Cost of preventive health service in Ministry of Health's hospital under the universal health coverage's core package
Authors: สุนีย์ สว่างศรี
Advisors: จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์
ภิรมย์ กมลรัตนกุล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
Advisor's Email: Sjiruth@chula.ac.th, fmedisr@md2.md.chula.ac.th
Pirom.K@Chula.ac.th
Subjects: ต้นทุนและประสิทธิผล
ประกันสุขภาพ -- แง่เศรษฐศาสตร์
Issue Date: 2545
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายการให้บริการป้องกันโรค ตามชุดสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในปีงบประมาณ 2544 โดยวิเคราะห์ในมุมมองผู้ให้บริการ เป็นรูปแบบการศึกษาเชิงพรรณา เก็บข้อมูลย้อนหลัง 1 ปีงบประมาณ (1 ตุลาคม 2543 - 30 กันยายน 2544) โดยแบ่งหน่วยต้นทุนออกเป็น 33 หน่วยต้นทุน ประกอบด้วย ด้วยต้นทุนค่าแรง ต้นทุนค่าวัสดุ ต้นทุนค่าลงทุน ผลการศึกษาพบว่า มัธยฐานต้นทุนทางตรง การให้บริการวัคซีนวัณโรค (บีซีจี) เท่ากับ 27.5 บาท/ครั้ง วัคซีนตับอักเสบบีเท่ากับ 62.1 บาท/ครั้ง วัคซีนคอตีบไอกรนบาดทะยักเท่ากับ 31.1 บาท/ครั้ง วัคซีนโปลิโอเท่ากับ 30.2 บาท/ครั้ง วัคซีนหัดเยอรมันเท่ากับ 62.9บาท/ครั้ง วัคซีนไข้สมองอักเสบเท่ากับ 75.4 บาท/ครั้ง วัคซีนคอตีบ บาดทะยักเท่ากับ 25.8 บาท/ครั้ง และวัคซีนบาดทะยักเท่ากับ 55.3 บาท/ครั้ง ร้อยละของต้นทุนค่าดำเนินการต่อต้นทุนทางตรงของวัคซีนวัณโรค (บีซีจี) เป็นร้อยละ 93.8 วัคซีนตับอักเสบบีเป็นร้อยละ 95.6 วัคซีนคอตีบไอกรนบาดทะยักเป็นร้อยละ 83.4 วัคซีนโปลิโอเป็นร้อยละ 92.5 วัคซีนหัดเยอรมันเป็นร้อยละ 96.6 วัคซีนไข้สมองอักเสบเป็นร้อยละ 91.8 วัคซีนคอตีบ บาดทะยักเป็นร้อยละ 88.2 และวัคซีนบาดทะยักเป็นร้อยละ 79.4 ร้อยละต้นทุนหน่วยสุดท้ายต่อต้นทุนค่าทางตรง วัคซีนวัณโรค(บีซีจี)เป็นร้อยละ 37.0 วัคซีนตับอักเสบบีเป็นร้อยละ 88.4 วัคซีนคอตีบไอกรนบาดทะยักเป็นร้อยละ 32.8 วัคซีนโปลิโอเป็นร้อยละ 28.6 วัคซีนหัดเยอรมันเป็นร้อยละ 84.9 วัคซีนไข้สมองอักเสบเป็นร้อยละ 69.1 วัคซีนคอตีบ บาดทะยักเป็นร้อยละ 27.5 และวัคซีนบาดทะยักเป็นร้อยละ 15.3 มัธยฐานต้นทุนทางตรงการตรวจร่างกายเท่ากับ 66.9 บาท/ครั้ง ตรวจมะเร็งเต้านมเท่ากับ 42.0 บาท/ครั้ง ตรวจมะเร็งปากมดลูกเท่ากับ 88.6 บาท/ครั้ง และ การตรวจทางห้องปฏิบัติการเท่ากับ 559.1 บาท/ครั้ง เป็นร้อยละของต้นทุนค่าดำเนินการต่อต้นทุนทางตรงของการตรวจร่างกายเป็นร้อย ละ 67.4 ตรวจมะเร็งเต้านมเป็นร้อยละ 82.1 ตรวจมะเร็งปากมดลูกเป็นร้อยละ 94.6 และการตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นร้อยละ 58.9 ร้อยละต้นทุนหน่วยสุดท้ายต่อต้นทุนทางตรง ของการตรวจร่างกายเป็นร้อยละ11.5 ตรวจมะเร็งเต้านมเป็นร้อยละ 57.5 ตรวจมะเร็งปากมดลูกเป็นร้อยละ 93.9 และการตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นร้อยละ 36.5 มัธยฐานต้นทุนทางตรงการให้ยาต้านไวรัสเอดส์กรณีป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ ลูกเท่ากับ 6558.3 บาท/ครั้ง ร้อยละของต้นทุนค่าดำเนินการต่อต้นทุนทางตรงเท่ากับ 92.3 ร้อยละต้นทุนหน่วยสุดท้ายต่อต้นทุนทางตรงเท่ากับ 99.9 มัธยฐานต้นทุนทางตรงการให้ฟลูออไรด์เสริมในกลุ่มเสี่ยงเท่ากับ 126.9 บาท/ครั้ง การเคลือบหลุมร่องฟันเท่ากับ 46.9 บาท/ครั้ง ขูดหินปูนเท่ากับ 54.8 บาท/ครั้ง ร้อยละของต้นทุนค่าดำเนินการต่อต้นทุนทางตรงการให้ฟลูออไรด์เสริมในกลุ่มเสี่ยงเป็นร้อยละ 85.7 การเคลือบหลุมร่องฟันเป็นร้อยละ 88.6 และขูดหินปูนเป็นร้อยละ 92.8 ร้อยละต้นทุนหน่วยสุดท้ายต่อต้นทุนทางตรง การให้ฟลูออไรด์เสริมในกลุ่มเสี่ยงเป็นร้อยละ 88.7 การเคลือบหลุมร่องฟันเป็นร้อยละ 75.6 ขูดหินปูนเป็นร้อยละ 86.9 และพบว่ากิจกรรมการขูดหินปูนมีต้นทุนที่แตกต่างกันระหว่างขนาดของโรงพยาบาล (p=0.05) ความคิดเห็นของผู้ถูกสัมภาษณ์เกี่ยวกับรูปแบบการให้บริการป้องกันโรคในสถานบริการสาธารณสุข ไม่ควรมีกิจกรรมเหมือนกันทุกสถานบริการเป็นร้อยละ 28.8 ผลการศึกษา สามารถนำไปเป็นพื้นฐานประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร ในการวางแผนดำเนินนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในด้านงบประมาณและการจัดบริการป้องกันโรคตามชุดสิทธิประโยชน์ของหลักประกันสุขภาพทั่วหน้า อย่างเหมาะสม
Other Abstract: The aims of this study are to assess provision and unit cost of disease prevention services under the four benefit packages of the universal health insurance program in hospital owned by the Ministry of Public Health. The fiscal year 2001 cost data (October 2000-September 2001) From the provider perspective were retrospectively collected. There were 33 cost centers of which labour costs material costs and capital costs were gathered. It was found that median direct costs (DC) of providing tuberculosis vaccine (BCG) 27.5 baht per visit, hepatitis B vaccine (HBV) 62.1 baht per visit, Diptheria Tetanus Pertussis vaccine (DTP) 31.1 baht per visit, Oral Polio vaccine (OPV) 30.2 baht per visit, Mum Measles Rubella (MMR) 62.9 baht per visit, Japanese encephalitis vaccine (JE) 75.4 baht per visit, Ditheria Tetanus (DT) 25.8 baht per visit, Tetanus vaccine (TT) 55.3 baht per visit. The proportions of operating costs (OC) per visit to direct costs per visit in providing those vaccine were 93.8, 95.6, 83.4, 92.5, 96.6, 91.8, 82.2 and 79.4 percent, respectively. The proportions of marginal costs (MG) per visit to direct costs per visit in providing those vaccine were 37.0, 88.4, 32.8, 28.6, 84.9, 69.1, 27.5,15.3 percent, respectively.The median DC of Physical examination (PE), Clinical breast examination (CBE), Screening for cervical cancer (SCC) and Laboratory tests were 66.9,42.0,88.6 and 559.1 baht per visit., respectively. The proportions of OC per visit to direct costs per visit in providing PE, CBE, SCC and Laboratory tests were 67.4, 82.1, 94.6 and58.9 percent, respectively. The proportions of MG per visit to direct costs per visit in providing PE, CBE, SCC and Laboratory tests were11.5, 57.5, 93.9 and 36.5 percent, respectively. The median DC of anti-viral drug for HIV-pregnant woman was 6,558.3 baht per visit. It OC to DC and MG were 92.3 and 99.9 percent. The median DC of fluoride supplementation for risk group, sealant and scaling were 126.9, 46.9 and 54.8 baht per visit. The proportions of OC of providing fluoride supplementation for risk groups, sealant and scaling were 85.7,88.6 and 92.8 percent, respectively. The proportions of MG of providing fluoride supplementation for risk groups, sealant and scaling were 88.7,75.6 and 86.9 percent, respectively. The costs of providing disease prevention services were not different among hospitals with different sizes, except for scaling (p = 0.05 ). Some 28.30 percent of the sampled hospitals suggested that the disease prevention package should not be the same for all hospitals The study findings could be applied in budget planning and management of the benefit package of the universal health insurance program. They also basic information for hospitals administrations in order to plan and manage for disease prevention efficiently as well as to determine guidelines to decrease costs associated with health promotion and disease prevention.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: เวชศาสตร์ชุมชน
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10085
ISBN: 9741712405
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunee_Sa.pdf5.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.