Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10330
Title: | ความสัมพันธ์ระหว่างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน : ศึกษากรณีนโยบายสหรัฐอเมริกาต่อจีนระหว่าง ค.ศ. 1989-1998 |
Other Titles: | The relationship between economic interests and human rights policy : a case study of U.S.'s China policy during 1989-1998 |
Authors: | กิตติภัทร วีระเตชะ |
Advisors: | ไชยวัฒน์ ค้ำชู |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
Advisor's Email: | Chaiwat.K@Chula.ac.th |
Subjects: | สิทธิมนุษยชน -- จีน นโยบายต่างประเทศ -- สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- จีน จีน -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- จีน จีน -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- สหรัฐอเมริกา |
Issue Date: | 2542 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนของสหรัฐอเมริกาต่อจีนระหว่าง ค.ศ. 1989-1998 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวนโยบายของสหรัฐอเมริกา ในด้านสิทธิมนุษยชน และเพื่อแสดงให้เห็นว่าสหรัฐอเมริกามีข้อจำกัด ในการใช้เครื่องมือทางการค้า (สถานะชาติที่ได้รับการอนุเคราะห์ยิ่ง) เพื่อกดดันให้จีนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสิทธิมนุษยชน ทั้งนีได้นำกรอบความคิดเรื่องอำนาจ อิทธิพลและการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มาเป็นกรอบในการศึกษาวิจัย จากการศึกษาพบว่า สหรัฐอเมริกาซึ่งมีนโยบายต่างประเทศที่สำคัญประการหนึ่ง ในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนไปทั่วโลก ได้ดำเนินนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนต่อจีน โดยการใช้เครื่องมือทางการค้า เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสิทธิมนุษยชนของจีน แต่ผลปรากฏว่าก ารดำเนินนโยบายดังกล่าวของสหรัฐอเมริกามีข้อจำกัด เนื่องจากสหรัฐอเมริกามีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจำนวนมาก ทั้งในด้านการค้าและการลงทุนในจีน |
Other Abstract: | Employing the concepts of power and influence and interdependence as analytical framework, this thesis focuses on studying the relationship between economic interests and human rights policy of U.S.'s China policy during 1989-1998. Its main purpose is to examine to what extent the U.S.'s human rights policy has achieved its intended objective of pressuring China to improve its human rights performance. The study found that the U.S. has constraints in using trade instrument (Most Favoured Nation-MFN) to carry out its human rights policy toward China because it has enormous economic interests--trade and investment--in China. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
Degree Name: | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10330 |
ISBN: | 9743336761 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Pol - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kittipat_Ve_front.pdf | 926.05 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Kittipat_Ve_ch1.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kittipat_Ve_ch2.pdf | 2.52 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kittipat_Ve_ch3.pdf | 2.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kittipat_Ve_ch4.pdf | 3.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kittipat_Ve_ch5.pdf | 1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Kittipat_Ve_back.pdf | 1.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.